แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) เทศบาลตำบลบ้านนาเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3/2567
19 กันยายน 2567

0


เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น ( พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570 ) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 1/2565
5 กรกฎาคม 2566

0


ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น ( พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570 ) เทศบาลตำบลบ้านนาเพิ่มเติม ครั้งที่ 1/2565 ได้ที่นี่

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 – 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2565
3 กรกฎาคม 2566

0


ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 – 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2565 ได้ที่นี่
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 – 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2565
3 กรกฎาคม 2566

0


ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 – 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2565 ได้ที่นี่

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา
13 มิถุนายน 2566

0


ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - พ.ศ. 2570) เทศบาลตำบลบ้านนา ได้ที่นี่

เอกสารแนบ
แก้ไขแผนพัฒนาท้องถิ่น ( พ.ศ. 2561 - 2565 ) ครั้งที่ 2/2565
31 พฤษภาคม 2565

0


     ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แก้ไขแผนพัฒนาท้องถิ่น ( พ.ศ. 2561 - 2565 ) ครั้งที่ 2/2565 ได้ที่นี่

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น 2561-2565 เพิ่มเติม ครั้งที่ 3/2565
28 เมษายน 2565

0


   ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารเกี่ยวกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น 2561-2565 เพิ่มเติม ครั้งที่ 3/2565 ได้ที่นี่

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น 2561-2565 เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2565
16 มีนาคม 2565

0


แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 1/2565
29 ตุลาคม 2564

0


แผนพัฒนาท้องถิ่ น (พ.ศ. 2561 – 2565) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 2/2564
29 มิถุนายน 2564

0


แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 1/2564
10 มิถุนายน 2564

0


แผนพัฒนาท้องถิ่น(พ.ศ. 2561 – 2565) เทศบาลตำบลบ้านนา เพิ่มเติม ครั้งที่ 1/2563
28 ตุลาคม 2563

0


เพิ่มเติมแผนพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 5 ปี 2563.pdf
1 กรกฎาคม 2563

0


เพิ่มเติมแผนพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 4 ปี 2563.pdf
29 พฤษภาคม 2563

0


เพิ่มเติมแผนพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 3 ปี 2563 .pdf
5 มีนาคม 2563

0


เพิ่มเติมแผนพัฒนาท้องถิ่น ครั้งที่ 2 ปี 2563.pdf
28 มกราคม 2563

0


แผนพัฒนาสามปี 2556 - 2558
30 พฤศจิกายน 542

0


 

ประกาศเทศบาลตำบลบ้านนา

                                           เรื่อง  แผนพัฒนาสามปี  (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ )

....................................................................................................

                    ด้วยเทศบาลตำบลบ้านนา ได้ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาสามปี  ( พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ )          ได้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย   ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   พ.ศ.  ๒๕๔๘   โดยผ่านกระบวนการจากประชาคมท้องถิ่น   และคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลได้จัดทำร่างแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘)  ประกอบกับผู้บริหารท้องถิ่นได้อนุมัติแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ) ในการประชุม  เมื่อวันที่  ๒๙  มิถุนายน  ๒๕๕๕ 

                   จึงอาศัยอำนาจตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   พ.ศ.  ๒๕๔๘   หมวด  ๓  ข้อ  ๑๗ (๔)  ประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

                                                             ประกาศ  ณ  วันที่   ๓๐  เดือนมิถุนายน  พ.ศ.  ๒๕๕๕

                                                                                                                               

                                                                                     (นายธงชัย  ว่องทรง)

                                                                        นายกเทศมนตรีตำบลบ้านนา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำนำ

                   การจัดทำแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๕๘) ของเทศบาลตำบลบ้านนามีจุดมุ่งหมายเพื่อนำประเด็นปัญหา  และความต้องการของท้องถิ่น มาจัดทำโครงการและแผนงาน โดยการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อใช้แก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชนในเขตรับผิดชอบ    ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยได้ลำดับความสำคัญของโครงการที่จะดำเนินการในสามปีข้างหน้า (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ) โดยได้คำนึงถึงสภาพปัญหา  ความเดือดร้อน  ความต้องการและความจำเป็นเร่งด่วน ของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ  เทศบาลตำบลบ้านนา  ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา  ออกเป็น  ๖  ยุทธศาสตร์  ดังนี้

  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
  2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
  4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านระบบบริหารสาธารณสุข  คุณภาพชีวิต
  5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วม
  6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพ  การเมือง  การบริหาร  และการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘)  ของเทศบาลตำบลบ้านนาจึงถือได้ว่าเป็น    ปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการดำเนินการพัฒนา  ให้บรรลุวัตถุประสงค์  เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงเวลาสามปีข้างหน้า

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘) ของเทศบาลตำบล      บ้านนาจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานและใช้เป็นแนวทาง  ในการพัฒนาท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตามเป้าหมาย

 

 

 

 

 

เทศบาลตำบลบ้านนา

 

 

 

 

 

 

 

 

สารบัญ

 

เรื่อง                                                                                                      หน้า                                                                                                                     

 

ส่วนที่  ๑  บทนำ                                                                                                ๑ –  ๒

 

ส่วนที่  ๒  สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญของเทศบาลตำบลบ้านนา                         ๓ –  ๒๕

 

ส่วนที่  ๓  สรุปผลการพัฒนาเทศบาลตำบลบ้านนาในปีที่ผ่านมา                                    ๒๖ – ๓๖

 

ส่วนที่  ๔  ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา                                                        ๓๗ – ๔๐

 

ส่วนที่  ๕  บัญชีสรุปโครงการพัฒนา  แผนพัฒนาสามปี  ( ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘)                               

          ๑.   ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค                ๔๑ – ๕๐

  1.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม           ๕๑ – ๕๖
  2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ๕๗ -  ๕๘
  3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านระบบบริหารสาธารณสุข  คุณภาพชีวิต                    ๕๙ – ๖๒
  4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต                                    ๖๓ – ๗๖

และการพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วม                                                  

  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพ  การเมือง  การบริหาร                           ๗๗ – ๘๔

และการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี                                                    

 

ส่วนที่  ๖  การนำแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล                                ๘๕ – ๘๖

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  ส่วนที่  ๑ 

 บทนำ

๑.๑ ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี

การจัดทำแผนพัฒนาสามปี ( พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ )    เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเทศบาลตำบลบ้านนา ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ จะมีแนวทางการพัฒนาได้มากกว่าหนึ่งแนวทาง และภายใต้แนวทางการพัฒนาหนึ่งจะมีโครงการ / กิจกรรมได้มากกว่าหนึ่งโครงการกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ต้องการในแต่ละยุทธศาสตร์การพัฒนาซึ่งจะมีผลต่อวัตถุประสงค์  เป้าหมาย จุดมุ่งหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน และวิสัยทัศน์  นอกจากนั้นแผนพัฒนาสามปีเป็นแผนที่มีความใกล้ชิดกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี  คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้การวางแผนพัฒนาเป็นเครื่องมือในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีโดยนำโครงการ / กิจกรรมจากแผนพัฒนาสามปี  ในปีที่จะจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี ไปจัดทำงบประมาณ  เพื่อให้กระบวนการจัดทำงบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบและผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนซึ่งมีความต่อเนื่องครอบคลุมระยะเวลาสามปี  โดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี

นิยามของแผนพัฒนาสามปี  ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.  ๒๕๔๘

แผนพัฒนาสามปี”  หมายถึง  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงานโครงการที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปีซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปีโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี

ดังนั้น  โครงการที่บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาสามปี  โดยเฉพาะในแผนประจำปีแรกในห้วงระยะเวลาสามปีนั้น ควรมีสภาพความพร้อมอย่างน้อย  ๒  ประการคือ

๑. มีความแน่นอนของกิจกรรมที่จะดำเนินการ  โดยควรมีความประเมินถึงความเป็นได้ของโครงการ / กิจกรรม  รวมทั้งผลประโยชน์สาธารณะที่จะได้รับจากโครงการ / กิจกรรม

๒.  กิจกรรมที่อยู่ในแผนประจำปีแรกของห้วงระยะเวลาสามปี ควรมีความพร้อมในเรื่องรูปแบบ งบประมาณและรายละเอียดต่าง ๆ  เพื่อให้สามารถกำหนดรายการในแผนพัฒนาที่จะนำไปใช้จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อไป

๑.๒ วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี

๑.๒.๑ เพื่อเป็นเครื่องมือให้เทศบาลได้พิจารณาตัดสินใจ กำหนดแนวทางการดำเนินงานและใช้

         ทรัพยากรการบริหารของท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

๑.๒.๒ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนา  โครงการ/

                     กิจกรรมได้อย่างถูกต้อง

๑.๒.๓  เพื่อใช้เป็นเอกสารที่แสดงแนวทางการพัฒนาและวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาเทศบาล

          ที่ชัดเจน  และมีลักษณะเฉพาะเจาะจงที่ดำเนินการ

๑.๒.๔ เพื่อใช้แสดงถึงโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่จะดำเนินการเป็นห้วงระยะเวลาสามปี

๑.๒.๕ เพื่อเป็นเอกสารที่แสดงความเชื่องโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับงบประมาณ

         รายจ่ายประจำปี        

 

 

๑.๓  ขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี   ( พ.ศ.๒๕๕๖ ๒๕๕๘ )

            ๑.๓.๑  ขั้นตอนการเตรียมการจัดทำแผน

                        ๑) หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดทำแผนชี้แจงวัตถุประสงค์ความสำคัญและความจำเป็นในการจัดทำแผนพัฒนาสามปีต่อผู้บริหาร  และดำเนินการเสนอโครงการจัดทำแผนสามปี  ห้วงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘

ผ่านปลัดให้ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ

                            ๒) หน่วยงานที่รับผิดชอบ  แจ้งโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่  คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล  คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล หน่วยงานภายในของเทศบาลและประชาคม

            ๑.๓.๒  ขั้นตอนที่ ๒  การคัดเลือกยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

                        ๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา  สรุปยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนาจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา  พร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  ปัญหาความต้องการของเทศบาล  รวมทั้งสรุปยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัด/อำเภอ  และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล

                        ๒)  คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล  จัดประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลและประชาคมท้องถิ่นและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง  เพื่อร่วมกันพิจารณา  โดยในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี  ในครั้งแรก  ให้เวทีประชาคมร่วมกันคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา  แนวทางการพัฒนาที่สมควรนำมาใช้เป็นแนวทางในแผนพัฒนาสามปี  เพื่อเป็นกรอบในการพิจารณาจัดทำโครงการกิจกรรมที่จะเพิ่มเติมหรือตัดทอนลงได้

                        ๓)  เวทีการประชุมร่วมกันจะร่วมพิจารณาว่ามีโครงการ/กิจกรรมอะไรบ้างที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแนวทางการพัฒนาที่คัดเลือกมาใช้เป็นกรอบในการพัฒนา

                        ๔)  พิจารณานำโครงการ/กิจกรรม  จากแผนชุมชนที่เกินขีดความสามารถในการดำเนินการของชุมชนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามาประกอบการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 

๕) จัดลำดับความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม เพื่อที่จะบรรจุลงในแผนพัฒนาสามปีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงงบประมาณรายรับรายจ่ายของเทศบาลรวมถึงทรัพยากรบริหารอื่น ๆ  และขีดความสามารถทั้งทางด้านกำลังเงิน  กำลังคน  วัสดุอุปกรณ์  และความรู้ทางด้านการบริหารจัดการที่จะดำเนินการได้เอง  และให้หน่วยงานอื่นดำเนินการ

 

             ๑.๓.๓ ขั้นตอนที่ ๓ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

                        ๑) การเก็บรวบรวมข้อมูล  คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น  ดำเนินการสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดทำแผนพัฒนาสามปี  ทั้งข้อมูลภายในองค์กรและข้อมูลภายนอกองค์กร   เพื่อนำมาวิเคราะห์  SWOT ได้

                        ๒) การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ๔ กิจกรรมหลัก คือ การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาการคัดเลือกยุทธศาสตร์   การจัดลำดับความสำคัญของแนวทางการพัฒนา   การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงสามปี

             ๑.๓.๔  ขั้นตอนที่ ๔ การกำหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา

                        ๑) หลังจากได้แนวทางการพัฒนาในช่วงสามปีแล้ว  ให้ที่ประชุมร่วมกันพิจารณาคัดเลือกวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนา  มาจัดทำเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา โดยพิจารณาคัดเลือกวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา  ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาช่วงสามปี โดยนำวัตถุประสงค์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปีและในขั้นตอนนี้  ที่ประชุมจะต้องร่วมกันพิจารณากำหนดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา  ที่จะต้องดำเนินการตามแนวทางที่คัดเลือก  โดยต้องดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาที่กำหนด  พิจารณาจัดลำดับความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม   และพิจารณาถึงความเชื่อมโยงของกิจกรรมทั้งในด้านกระบวน การดำเนินงานและในด้านของผลการดำเนินการ          โดยพิจารณาจากความจำเป็นเร่งด่วน  ขีดความสามารถทางทรัพยากรการบริหารของเทศบาล และความเชื่อโยงของกิจกรรม  ระยะเวลาที่จะดำเนินการ

๑.๓.๕  ขั้นตอนที่  ๕ การจัดทำรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา

                คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลพิจารณาคัดเลือกโครงการที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี  มาจัดทำรายละเอียดโครงการ  ในด้านเป้าหมาย  ผลผลิต  ผลลัพธ์  งบประมาณระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ    แต่ละตัวชี้วัดความสำเร็จ  โดยเน้นการศึกษารายละเอียดของกิจกรรม    ที่จะดำเนินการในปีแรกของแผนพัฒนาสามปี  เพื่อให้สามารถนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีได้

 

๑.๓.๖  ขั้นตอนที่ ๖ การจัดทำร่างแผนพัฒนาสามปี

            ๑) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา  จัดทำร่างแผนพัฒนาสามปี  โดยมีเค้าโครงประกอบด้วย

            ส่วนที่  ๑  บทนำ

            ส่วนที่  ๒  สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาล

            ส่วนที่  ๓  สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา

            ส่วนที่  ๔  สรุปยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

            ส่วนที่  ๕  บัญชีโครงการพัฒนา

            ส่วนที่  ๖  การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

             ๒)  คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา  จัดเวทีประชาคม  ซึ่งประกอบด้วย  คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล  ประชาคมท้องถิ่น  และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  เพื่อเสนอร่างแผนพัฒนาสามปีและรับฟังความคิดเห็น  ข้อเสนอแนะ  แล้วนำไปปรับปรุงแผนพัฒนาสามปีให้สมบูรณ์ต่อไป

              ๓) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา  นำร่างแผนพัฒนาสามปีที่ปรับปรุงแล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลเพื่อพิจารณา

๑.๓.๗ ขั้นตอนที่  ๗  การอนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี

            ๑) คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลร่างแผนพัฒนาสามปีเพื่อเสนอผู้บริหาร

            ๒) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาสามปีและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี

          ๑.๔ ประโยชน์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี  ( พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๕๕๘ )

การจัดทำแผนพัฒนาสามปี  เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เทศบาลตำบลบ้านนา  ได้พิจารณาอย่างรอบคอบให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการดำเนินงานต่าง ๆ ที่อาจมีความเชื่อมโยงและส่งผลทั้งในเชิงสนับสนุน และเป็นอุปสรรคต่อกัน เพื่อให้เทศบาลตำบลบ้านนานำมาตัดสินใจกำหนดแนวทางการดำเนินงานและใช้ทรัพยากรการบริหารของเทศบาลอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะสูงสุด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนที่ ๒

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสำคัญของเทศบาลตำบลบ้านนา

๒. สภาพทั่วไป

            ๒.๑ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

๒.๑.๑ การคมนาคม

                    เทศบาลตำบลบ้านนา  มีความสะดวกในการคมนาคมขนส่งทั้งภายในเขตเทศบาล       ตำบลใกล้เคียง  ตลอดจนอำเภอต่าง ๆ โดยทางรถยนต์และรถไฟ  กล่าวคือ

                                         ทางรถยนต์  โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  ๔๑๗๘  ภายในเขตเทศบาล  บรรจบทางหลวงจังหวัด  หมายเลข  ๔๐๐๙  ไปอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี  อำเภอบ้านนาสาร  และบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  ๔๑   ไปอำเภอพุนพิน  และจังหวัดชุมพร ไปอำเภอเวียงสระ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช   

                                        ทางรถไฟ     ในเขตเทศบาลมีรถไฟผ่าน  และมีสถานีรับ ส่งผู้โดยสาร ๑  สถานี

๒.๑.๒  การไฟฟ้า                 

                                เทศบาลตำบลบ้านนา  มีพื้นที่ ๔.๐๘ ตารางกิโลเมตร ประชากรตั้งบ้านเรือนทั่วทั้งเทศบาล  โดยราษฎรมีไฟฟ้าใช้ทุกหลังคาเรือน ในทุก ๆ ปี เทศบาลจะจัดสรรเงินงบประมาณส่วนหนึ่งอุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค  อำเภอบ้านนาสาร  ในการขยายเขตระบบจำหน่ายไฟฟ้าและไฟฟ้าสาธารณะ

๒.๑.๓  การประปา

        การผลิตน้ำประปาในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา  เทศบาลเป็นผู้ดำเนินการเอง มีแหล่งน้ำดิบจากคลองลำพูน ซึ่งปัจจุบันมีน้ำเพียงพอในการผลิตน้ำประปาให้บริการประชาชนได้ตลอดทั้งปี  เนื่องจากเทศบาลได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  โดยมอบหมายให้กรมชลประทาน เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างฝายประปาให้กับเทศบาลตำบลบ้านนาเพื่อเก็บกักน้ำสำหรับผลิตน้ำประปา  ให้เพียงพอต่อการบริการแก่ประชาชนทั้งในเขตเทศบาลและพื้นที่ใกล้เคียงได้ใช้น้ำตลอดทั้งปี

๒.๑.๔ การโทรคมนาคม

                                เทศบาลตำบลบ้านนา  มีบริการด้านสื่อสารคมนาคม  ในเขตพื้นที่  ๑  หน่วยงาน  คือ ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข  อำเภอบ้านนาเดิม  ให้บริการด้านรับ – ส่ง  จดหมาย  พัสดุภัณฑ์ 

๒.๑.๕ การจราจร

                                การจราจรในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา มีความหนาแน่น เนื่องจากถนนสาย ๔๑๗๘        ซึ่งเป็นถนนสายหลักในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา เป็นเส้นทางผ่านไปยังจังหวัดสุราษฎร์ธานี  เทศบาลฯ ประสบปัญหาด้านถนนคับแคบ  และรถบรรทุกหนักวิ่ง  มีปัญหาเกี่ยวกับการจราจรในช่วงเวลาเร่งด่วน

๒.๑.๖ การใช้ที่ดิน

                                เทศบาลตำบลบ้านนา   มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด  ๔.๐๘  ตารางกิโลเมตร  จำแนกประเภทการใช้ที่ดินออกเป็น  เขตที่อยู่อาศัย  เขตพาณิชกรรม  สถานศึกษา  และเขตเกษตรกรรม  ซึ่งสามารถจำแนกได้ดังนี้

            ๑. บริเวณศูนย์กลางชุมชน  ได้แก่  บริเวณตลาดบ้านนา    พื้นที่บางส่วนจะเป็นที่ราชพัสดุเป็นศูนย์รวมของสถานที่ราชการ  สถานศึกษา  และอาคารร้านค้า ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของเทศบาล

                                ๒. พื้นที่เกษตรกรรม  ได้แก่   สวนไม้ผลต่าง ๆ สวนยางพารา   ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป ได้แก่  ชุมชนบ้านเหนือ  ชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

.๒  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 ๒.๒.๑ ทรัพยากรดิน

                           ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา เป็นที่ราบลุ่ม สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย เหมาะแก่การเกษตร  โดยการเพาะปลูกยางพารา  เงาะ  มังคุด  ทุเรียน  ลองกอง และกระท้อน

๒.๒.๒ ทรัพยากรน้ำ

                            ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา  มีลำน้ำไหลผ่านชื่อ “คลองลำพูน”  ซึ่งเทศบาลได้นำน้ำดิบมาเพื่อผลิตน้ำประปา  บริการแจกจ่ายให้ประชาชน  ในเขตเทศบาลประมาณ   ๑๒๑๘   หลังคาเรือน

๒.๒.๓  สภาพสิ่งแวดล้อม

ในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่มีความสำคัญและเป็นที่สนใจในทุกระดับ

เพราะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์วิทยา  การดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต  โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ในเขตเมือง จะประสบกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการเจริญเติบโตของเมือง  เช่น  ปัญหาขยะมูลฝอย  ปัญหาน้ำเสีย  ปัญหามลพิษทางอากาศ   เทศบาลตำบลบ้านนาเป็นพื้นที่ในเขตเมืองที่มีลักษณะพิเศษกว่าเขตเมืองอื่น ๆ คือ มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่พาณิชย์  ดังนั้น จึงมีผลกระทบจากขยะมูลฝอย  น้ำเสีย   มีโอกาสผลกระทบจากอากาศเป็นพิษ  

                     แต่เนื่องจากมีการขยายตัวของเมืองอย่างไม่หยุดนิ่ง เทศบาลตำบลบ้านนา จึงมีแนวโน้มประสบกับปัญหาขยะมูลฝอยที่มีปริมาณ ๔ ตัน/วัน และเนื่องจากเทศบาลมีศักยภาพในการเก็บขนขยะ จึงแทบจะไม่มีปริมาณขยะตกค้าง แต่เทศบาลตำบลบ้านนาประสบกับปัญหาในเรื่องไม่มีสถานที่ทิ้งขยะ จึงจำเป็นต้องนำไปทิ้งบริเวณทางไฟในเขตเทศบาลเมืองนาสาร  โดยเทศบาลตำบลบ้านนาตั้งงบประมาณอุดหนุนเทศบาลเมืองนาสารเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับดำเนินการฝังกลบขยะ

            ๒.๓  ด้านเศรษฐกิจ          

                        ๒.๓.๑  การเกษตรกรรม  :  ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา  จะมีการทำสวนยางพารา  ทุเรียน  เงาะ  มังคุด  กระท้อน   ประมาณ  ๓๐%

                                ๒.๓.๒  การอุตสาหกรรม  :  ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา  ไม่มีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่  คงมีเพียงการทำอุตสาหกรรมในครัวเรือน  เช่น  การทำขนมเพื่อจำหน่าย  ประมาณ  ๒๐ %

                            ๒.๓.๓   การพาณิชย์  :  ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา   ประชากรส่วนใหญ่จะประกอบการด้านพาณิชย์  ประชาชนซื้อขายสินค้าอุปโภค  บริโภค ทั่วไป มีปั๊มน้ำมัน จำนวน ๒  แห่ง  มีร้านค้าประมาณ  ๑๐๐  ร้าน  สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร   ธนาคารธนชาต  และธนาคารออมสิน  ประมาณ  ๕๐%

                               

             ๒.๔ ด้านสังคม

                                ๒.๔.๑  ประชากร  ณ  วันที่  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๕๕ 

                              เทศบาลตำบลบ้านนา  มีประชากรรวม       ๓,๒๘๘   คน               

                                                                                     ชาย                   ๑,๕๘๘     คน

                                                                                     หญิง         ๑,๗๐๐         คน

                                                                                     จำนวนครัวเรือน     ๑,๒๙๘              ครัวเรือน

                                                                 

 

 

 

 

จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ (ปี) เฉพาะผู้มีสัญชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

ช่วงอายุ

ชาย

หญิง

รวม

น้อยกว่า  ๑ ปี

๑๐

๑๓

๑  ปี

๑๙

๑๒

๓๑

๒  ปี

๑๗

๑๘

๓๕

๓  ปี

๒๘

๒๕

๕๓

๔  ปี

๓๕

๓๓

๖๘

๕  ปี

๓๑

๒๕

๕๖

๖  ปี

๒๓

๓๐

๕๓

๗  ปี

๒๕

๒๙

๕๓

๘  ปี

๑๘

๑๘

๓๖

๙  ปี

๑๒

๑๙

๓๑

๑๐  ปี

๑๖

๑๕

๓๑

๑๑  ปี

๒๐

๑๖

๓๖

๑๒  ปี

๒๔

๑๗

๔๑

๑๓  ปี

๒๕

๒๒

๔๗

๑๔  ปี

๒๖

๑๖

๔๒

๑๕  ปี

๒๕

๑๕

๔๐

๑๖  ปี

๒๗

๑๖

๔๓

๑๗  ปี

๒๐

๒๒

๔๒

๑๘  ปี

๒๕

๒๒

๔๗

๑๙  ปี

๑๙

๑๓

๓๒

๒๐  ปี

๒๗

๑๗

๔๔

๒๑  ปี

๒๘

๒๐

๔๘

๒๒  ปี

๒๐

๒๐

๔๐

๒๓  ปี

๑๗

๓๐

๔๗

๒๔  ปี

๑๖

๒๗

๔๓

๒๕  ปี

๑๓

๒๓

๓๖

๒๖  ปี

๑๙

๒๑

๔๐

๒๗  ปี

๓๕

๓๒

๖๗

๒๘  ปี

๒๗

๓๒

๕๙

๒๙  ปี

๒๕

๒๑

๔๖

๓๐  ปี

๒๖

๒๑

๔๗

๓๑  ปี

๒๖

๒๓

๔๙

๓๒  ปี

๒๙

๒๔

๕๓

๓๓  ปี

๒๐

๓๓

๕๓

๓๔  ปี

๑๘

๒๖

๔๔

 

 

 

 

 

 

ช่วงอายุ

ชาย

หญิง

รวม

๓๕  ปี

๒๖

๓๕

๖๑

๒๖  ปี

๒๕

๒๘

๕๓

๓๗  ปี

๑๘

๒๒

๔๐

๓๘ ปี

๒๓

๒๗

๕๐

๓๙  ปี

๒๒

๒๐

๔๒

๔๐  ปี

๓๓

๒๑

๕๔

๔๑  ปี

๒๒

๒๕

๔๗

๔๒  ปี

๒๕

๒๗

๕๒

๔๓  ปี

๒๖

๑๙

๔๕

๔๔  ปี

๓๐

๓๑

๖๑

๔๕  ปี

๒๓

๒๑

๔๔

๔๖  ปี

๒๔

๒๓

๔๗

๔๗  ปี

๑๙

๓๕

๕๔

๔๘  ปี

๓๐

๒๕

๕๕

๔๙  ปี

๑๘

๓๙

๕๗

๕๐  ปี

๒๔

๓๔

๕๘

๕๑  ปี

๒๕

๒๙

๕๓

๕๒  ปี

๑๔

๑๘

๓๒

๕๓  ปี

๓๐

๒๖

๕๖

๕๔  ปี

๑๙

๒๔

๔๓

๕๕  ปี

๓๐

๒๖

๕๖

๕๖  ปี

๑๗

๓๑

๔๘

๕๗  ปี

๑๙

๑๐

๒๙

๕๘  ปี

๑๔

๒๖

๔๐

๕๙  ปี

๒๑

๒๑

๔๒

๖๐  ปี

๑๘

๑๖

๓๔

๖๑  ปี

๑๕

๑๗

๓๒

๖๒  ปี

๑๓

๑๘

๓๑

๖๓  ปี

๑๙

๑๘

๓๗

๖๔  ปี

๑๔

๑๒

๒๖

๖๕  ปี

๑๗

๖๖  ปี

๑๑

๑๔

๒๕

๖๗  ปี

๑๒

๑๘

๖๘  ปี

๑๐

๑๕

๒๕

๖๙  ปี

๑๑

๑๙

 

 

 

 

 

 

 

ช่วงอายุ

ชาย

หญิง

รวม

๗๐ ปี

๑๐

๑๘

๗๑  ปี

๑๑

๗๒  ปี

๑๒

๗๓  ปี

๑๑

๑๖

๗๔  ปี

๑๐

๑๖

๗๕  ปี

๑๓

๗๖  ปี

๑๓

๗๗  ปี

๑๑

๑๖

๗๘  ปี

๗๙  ปี

๑๑

๘๐  ปี

๑๐

๑๔

๘๑  ปี

๑๐

๘๒  ปี

๘๓  ปี

๑๐

๘๔  ปี

๑๒

๘๕  ปี

๘๖  ปี

๘๗  ปี

๘๘  ปี

๘๙  ปี

๙๐ ปี

๙๑  ปี

๙๒  ปี

๙๓  ปี

๙๔  ปี

๙๕  ปี

๙๖  ปี

๙๗  ปี

๙๘  ปี

๙๙  ปี

๑๐๐  ปี

 

 ที่มา : งานทะเบียนราษฎร  เทศบาลตำบลบ้านนา

                                                                             ข้อมูล  ณ  วันที่  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๕๕

                       

 

 

 

 

 

 

 

๒.๔.๒  ชุมชน  เทศบาลตำบลบ้านนา  มี  ๔  ชุมชน  จำนวนบ้าน ๑,๒๙๘ หลังคาเรือน  จำนวน              ประชากรในชุมชน  ๓,๒๘๘  คน

                     คณะกรรมการชุมชนตลาดบน   ประกอบด้วย

                        ๑.  นายประมาณ  ไสยรินทร์             ประธานกรรมการ

                        ๒.  นายสมชาย  อาวุธ                                 รองประธานกรรมการ

                                ๓.  นายโกวิท  พุฒทอง                                รองประธานกรรมการ

                        ๔.  นางกมลทิพย์  ชัยเจริญ              กรรมการชุมชนฝ่ายคลัง

                        ๕.  นางนาตยา  เทียนไชย                            กรรมการชุมชนฝ่ายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

                                ๖.  นางยุพธิดา คงแก้ว                                กรรมการชุมชนฝ่ายการศึกษา  สวัสดิการสังคม

                        ๗.  นายจิตติมา  โมสิกะ                               กรรมการและเลขานุการ

                        ๘.  พลตรีภิรมย์  เครือหงส์                ที่ปรึกษา

                        ๙.  นายเสรี  จันทร์ภักดี                               ที่ปรึกษา

                        คณะกรรมการชุมชนตลาดล่าง         ประกอบด้วย

                        ๑.  นางวรรธนา  แซ่หลิ่ม                            ประธานกรรมการ

                        ๒.  นายชาญวุฒิ  สุทธิวรานันต์                       รองประธานกรรมการ

                                ๓.  นางสุทิศา       สอนประสม                      รองประธานกรรมการ

                                ๔.  นางกล่อมจิต  เพชรยัง                กรรมการชุมชนฝ่ายคลัง

                                ๕.  นางยุพา  พุฒทอง                                 กรรมการชุมชนฝ่ายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

                                ๖.  นางสาวสมฤดี  ไตรภพบันลือ                    กรรมการชุมชนฝ่ายการศึกษา  สวัสดิการสังคม   

                                ๗.  นางเด่นดาว  พรหมเสน               กรรมการและเลขานุการ

                        ๘.  นางสาวตาบทอง  ชลมุสิก                        ที่ปรึกษา

                        คณะกรรมการชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง    ประกอบด้วย

                        ๑.  นางสมใจ  กวั้งซ้วน                               ประธานกรรมการ

                        ๒.  นางมยุรา  ไชยยศ                                 รองประธานกรรมการ

                        ๓.  นายทินกร  นิพนธ์กิจ                             รองประธานกรรมการ

                        ๔.  นายประไพ  งามทอง                             กรรมการชุมชนฝ่ายคลัง

                                ๕.  นายปรีชา  ศรีเจริญสุข               กรรมการชุมชนฝ่ายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

                        ๖.  นางบุญเชื้อ  เพชรานันท์                 กรรมการชุมชนฝ่ายการศึกษา  สวัสดิการสังคม

                                ๗.  นายคล่อง  พุฒศรี                                 ที่ปรึกษา

                        ๘.  นายวิรุฬ  ใจสมุทร                                ที่ปรึกษา

                        คณะกรรมการชุมชนบ้านเหนือ         ประกอบด้วย

                        ๑.  นายศิริวัฒน์  ถุงทอง                              ประธานกรรมการ             
                        ๒.  นางพนิดา  พัฒนสิงห์                             รองประธานกรรมการ                  

                                ๓.  นางเพ็ญทิพย์  สารีบุตร                    กรรมการชุมชนฝ่ายคลัง

๔.  นางไมตรี  ชูทุ่งยอ                                         กรรมการชุมชนฝ่ายสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

๕.  นางปรีดา  สละ                         กรรมการชุมชนฝ่ายการศึกษา  สวัสดิการสังคม

๖.  นางสาวชุลีวรรณ  เทพเสนา                      กรรมการและเลขานุการ

๗.  นายอำนวย  สำลีวงศ์                             ที่ปรึกษา

ที่มา :  งานพัฒนาชุมชน  เทศบาลตำบลบ้านนา

 

 

 

           

๒.๔.๓  การศึกษา  ศาสนา  และประเพณีวัฒนธรรม

  การศึกษา  :  ประชาชนส่วนใหญ่จบการศึกษาภาคบังคับ   โรงเรียนรัฐบาล  ๒  โรง 

โรงเรียนอนุบาลเอกชน  ๑  โรง  โรงเรียนอนุบาลเทศบาลฯ   ๑  โรง 

                                          ศาสนาและวัฒนธรรม : ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ  มีวัดอยู่ในเขตเทศบาลฯ       ๑ แห่ง

                                         ศิลปวัฒนธรรม   :  มีการส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณจัดงานพิธีกรรมทางศาสนา  งานรัฐพิธีและประเพณีวัฒนธรรม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น

๒.๔.๔ การสาธารณสุข

                                       ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา  มีโรงพยาบาล  ๑  แห่ง  จำนวน  ๓๐  เตียง   คลีนิค  ๑  แห่ง ร้านเภสัชกร ๒ แห่ง   ไม่มีโรคระบาด  มีการดำเนินการโครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก โดยการพ่นหมอกควัน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง  โครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยจัดทำร่วมกับโครงการเทศบาลเคลื่อนที่ออกหน่วยฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า  การกำจัดขยะมูลฝอย  เทศบาลฯ  ได้นำถังสำหรับรองรับขยะไปวางไว้ตามจุดต่าง ๆ  ในเขตเทศบาลฯ  และบริเวณรอบนอกเทศบาลฯ โดยจะมีรถสำหรับจัดเก็บขยะออกไปเก็บเป็นประจำทุกวันและได้นำไปกำจัดโดยนำไปฝังกลบ สำหรับที่ทิ้งขยะอยู่ห่างจากเทศบาลฯ  ประมาณ  ๘  กม.

๒.๔.๕ การสังคมสงเคราะห์

                           ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา   ราษฎรมีฐานะปานกลาง  ในเรื่องการสังคมสงเคราะห์ของเทศบาลตำบลบ้านนาได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ่ายเบี้ยยัง ชีพผู้สูงอายุ จำนวน ๓๗๒ คน  คนพิการจำนวน ๓๔ คน  และผู้ป่วยเอดส์  ๑  คน  และในกรณีที่มีภัยธรรมชาติหรือภัยที่เกิดขึ้นอื่นๆ เทศบาลฯ ได้ตั้งงบประมาณ  เข้าช่วยเหลืออย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพโดยตลอด

๒.๔.๖  ชุมชนและการเคหะ

                          ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา     ส่วนใหญ่จะตั้งบ้านเรือนเป็นลักษณะของที่อยู่อาศัยรวม   เพื่ออยู่อาศัยและประกอบการค้า เริ่มจะมีการสร้างบ้านจัดสรรและอาคารอื่น ๆ จึงทำให้การดำเนินการด้านสาธารณูปโภค  สาธารณูปการด้านสิ่งแวดล้อมเริ่มมีปัญหา  และเพิ่มความต้องการ  การพัฒนาอย่างมากในเรื่องนี้  เทศบาลได้เตรียมแผนงานรองรับไว้ในอนาคตแล้ว  และยังได้เน้นหนักเกี่ยวกับความสะอาดอย่างจริงจัง

                   ๒.๔.๗  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 

                                        เนื่องจากเทศบาลตำบลบ้านนา  มีพื้นที่เพียง ๔.๐๘ ตารางกิโลเมตร  มีราษฎรอาศัยไม่หนาแน่นนัก  การรักษาความสงบได้รับความร่วมมือจากทางสถานีตำรวจภูธรบ้านนาเดิม ซึ่งมีอัตรากำลังมากพอสมควร  โดยมีสายตรวจตลอดเวลาประกอบกับราษฎรเป็นคนในพื้นที่  มีคนต่างพื้นที่เข้ามาอาศัยน้อย จึงทำให้ปัญหาด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีน้อย และในส่วนของเทศบาลฯ  ได้เตรียมพร้อมและเร่งรัดเจ้าหน้าที่ของเทศบาล  ได้แก่  การป้องกันอัคคีภัยฯ  โดยมีความพร้อมในด้านเครื่องมือเครื่องใช้ และเจ้าหน้าที่ตลอด ๒๔ ชั่งโมง

 

 

๒.๕  ด้านการเมือง  การบริหาร  และสังคม    

๒.๕.๑ การเมือง

                            ราษฎรส่วนใหญ่มีความตื่นตัวทางการเมืองพอสมควร  และมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยใช้สิทธิเลือกตั้ง  และสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้นำท้องถิ่น

 

๒.๕.๒ การบริหาร

            มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงาน ลูกจ้าง คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาให้มีความรู้ในด้านการปกครองและด้านกฎหมาย  จัดอบรมให้ความรู้กับผู้นำชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชนและส่งเสริมให้มีบทบาทในการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น

            มีการจัดทำประชุมประชาคมชุมชนเพื่อเป็นเวทีให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในกิจการเทศบาล  ร้องเรียนร้องทุกข์ และรับทราบข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ  และมีการจัดโครงการเทศบาลเคลื่อนที่เพื่อจัดพื้นที่บริการของเทศบาล  บริการประชาชนให้เกิดความพึงพอใจที่ดีแก่ประชาชนที่มารับบริการ

๒.๕.๓ การดำเนินงานด้านสังคม

            มีการส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการอย่างต่อเนื่อง  ได้แก่ การสนับสนุนอุปกรณ์กีฬาสำหรับชุมชน การจัดการแข่งขันกีฬาชุมชน  เพื่อให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปได้รู้จักใช้เวลาให้เป็นประโยชน์  ไกลยาเสพติด และสร้างความสามัคคีสมานฉันท์ในชุมชน

            มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ราษฎรในชุมชนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติด  รวมถึงสนับสนุนงบประมาณให้กับหน่วยงานในการดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 

            มีการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน เพื่อให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชน ซึ่งจะเป็นพลังที่สำคัญของท้องถิ่นและของประเทศ  โดยสนับสนุนทั้งด้านกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะ เช่น กีฬา จัดโครงการทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่ และสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคมและอบรมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อการดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับวัย 

  ­ โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ในการบริหารของเทศบาลตำบลบ้านนา

                                       องค์กรทางการเมือง – การบริหารของเทศบาลตำบลบ้านนา   ประกอบด้วย   สมาชิกสภาเทศบาล จำนวน  ๑๒  คน  ทำหน้าที่นิติบัญญัติ  มีนายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง  รอง นายกเทศมนตรี ๒ คน  ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี  ๑  คน  เลขานุการนายกเทศมนตรี  ๑  คน  ทำหน้าที่บริหาร และพนักงานเทศบาล   ซึ่งทำหน้าที่ปฏิบัติงานประจำภายในส่วนราชการของเทศบาล  ตามที่ ก.ท.กำหนด โดยสามารถแสดงตามแผนภูมิ  ดังนี้

เทศบาลตำบลบ้านนา    แบ่งหน่วยงานภายในส่วนราชการตามที่  ประกาศโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของเทศบาล   เป็น    ๕  หน่วยงาน  ดังนี้

                         ๑.  สำนักปลัดเทศบาล  มีหน้าที่ควบคุมดูแล  รับผิดชอบการปฏิบัติงานในหน้าที่ของงานการเจ้าหน้าที่   งานทะเบียนราษฎร  งานแผนและงบประมาณ  งานนิติการ  งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย  งานการศึกษา  และงานรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง

 

                         ๒. กองคลัง มีหน้าที่ควบคุมดูแล รับผิดชอบการปฏิบัติงานในการพัฒนารายได้            งานผลประโยชน์  งานเร่งรัดรายได้ งานการเงินและบัญชี  งานพัสดุและทรัพย์สิน  งานสถิติการคลัง งานแผนที่ภาษี  งานทะเบียนทรัพย์สิน

                         ๓.  กองช่าง    มีหน้าที่ควบคุมดูแล     รับผิดชอบการปฏิบัติงานในหน้าที่ของงานวิศวกรรม    งานสถานที่และไฟฟ้าสาธารณะ

๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค

๑.๑ แนวทางการก่อสร้าง  สาธารณูปโภคและไฟฟ้า (พัฒนาด้านการคมนาคม โดย ก่อสร้าง  ปรับปรุง  บำรุงรักษาถนน  ทางเท้า ท่อระบายน้ำ   ระบบการจราจร

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

 (บาท)

๑.

 

 

 

 

๒.

 

 

 

 

 

๓.

 

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างถนน

คสล สายศาลา ๒๐๐ ปี

( สุดเขต )

เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

โครงการก่อสร้างถนน คสลซอยเลียบริมคลองลำพูน

 เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

 

 

โครงการปรับปรุงถนนหินคลุกถนนเลียบทางรถไฟ ทั้ง ๒ ฝั่งถึงศาลา  ๒๐๐  ปี

เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

 

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ก่อสร้างถนน คสล ขนาดผิวจราจร กว้าง ๕.๐๐ ม.

ยาว ๒๑๐ ม. หนา ๐.๑๕ ม.

 

 

ก่อสร้างถนน คสล ขนาดผิวจราจร  กว้าง ๕.๐๐ ม. ยาว ๒๐๐ ม. หนา ๐.๑๕ ม.

 

 

โครงการปรับปรุงถนนลงหินคลุกขนาดผิวจราจรกว้าง๕.๐๐ ม.ยาว  ๔๐๐.๐๐ ม.หนา ๐.๒๐ ม.

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

 

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๔.

 

 

 

 

 

๕.

 

 

 

 

๖.

 

 

 

 

๗.

โครงการบุกเบิกถนนจากหัวสะพานคลองน้ำดำ ถึงร้านวสันต์

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

 

โครงการวางท่อระบายน้ำพร้อมบ่อพักซอยเจียรพันธ์

๑,๒

เสนอโดยชุมชนตลาดบน

 

โครงการก่อสร้างถนน คสล   หน้าอำเภอ ๓ -จดป่าพรุกง

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

 

โครงการก่อสร้างคูระบายน้ำซอยทวดแป้น

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

 

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นและป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

 

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นและป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

โครงการบุกเบิกถนนหินคลุกขนาดผิวจราจรกว้าง ๕.๐๐ ม. ยาว  ๖๐๐.๐๐ ม. หนา ๐.๒๐ ม.

 

 

วางท่อระบายน้ำ ขนาด

W ๐.๖๐ ม.ยาว ๑๕๙ ม. พร้อมบ่อพัก คสล

 

 

ก่อสร้างถนน คสล ขนาดผิวจราจร  กว้าง ๕.๐๐ ม. ยาว ๕๐๐ ม. หนา ๐.๑๕ ม.

 

ก่อสร้างคูระบายน้ำรูปตัวยู พร้อมฝาปิด

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๘๐๐,๐๐๐.๐๐

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

 

-สามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมขัง

-สะดวกปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

- สามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมขัง

-สะดวกปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๘.

 

 

 

 

 

๙.

 

 

 

 

๑๐.

 

 

 

 

 

๑๑.

 

 

 

โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำซอยเจียรพันธ์  ๔

เสนอโดยชุมชนตลาดบน

 

 

 

โครงการก่อสร้างคูระบายน้ำซอยโรงมัน

เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

 

โครงการบุกเบิกถนนสายแยกจากบ้านห้วยใหญ่ไปจดพรุกง  (หน้าอำเภอ  ๔)

 

 

 

โครงการก่อสร้างถนน  คสล. สายหน้าอำเภอ  ๔,๕

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

-เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นและป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

 

-เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

ก่อสร้างรางระบายน้ำรูปตัวยู  ขนาดกว้าง  ๐.๗๐ ม. ยาว  ๑๕๙ ม. ลึกตามลาดเอียง ๐.๑๐– ๐.๗๐ ม.

 

 

ก่อสร้างคูระบายน้ำรูปตัวยู  ขนาดกว้าง  ๐.๔๐ ม. ยาว  ๒๙๕ ม. ลึกตามลาดเอียง ๐.๑๐-๐.๗๐ ม.

 

โครงการบุกเบิกถนนหินคลุกขนาดกว้าง  ๕.๐๐  ม. ยาว  ๑,๒๐๐.๐๐ ม. หนาเฉลี่ย ๐.๑๕ ม. พร้อมเกลี่ยเรียบ

 

โครงการก่อสร้างถนน คสล ขนาดผิวจราจร  กว้าง ๖.๐๐ ม. ยาว ๔๐๐ ม. หนา ๐.๑๕ ม. หินคลุกไหล่ทางด้านละ ๐.๑๕

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๗๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

- สามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมขัง

-สะดวกปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

-สามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมขัง

-สะดวกปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

 

 

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๒.

 

 

 

 

๑๓.

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๔

 

โครงการก่อสร้างคูระบายน้ำ ซอยเจียรพันธ์  ๕

เสนอโดยชุมชนตลาดบน

 

 

โครงการขยายถนนสาย ๔๑๗๘ จาก ถนนหน้าโรงพยาบาลถึงหัวสะพานคลองน้ำดำ

 

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างรางระบายน้ำซอยไชยยศ ๑

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

 

 

 

 

 

 

- เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน

-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

 

 

- เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

ก่อสร้างคูระบายน้ำรูปตัวยู  ขนาดกว้าง  ๐.๔๐ ม. ยาว  ๒๙๕ ม. ลึกตามลาดเอียง  ๐.๑๐ – ๐.๗๐ ม.

ขยายถนนจากถนนเดิม ๒ช่องจราจร เพิ่มเป็น ๔ ช่องจราจร ระยะทาง ๑,๑๑๖.๐๐  เมตร พร้อมบ่อพักและทางเท้า กว้าง ๑.๒๐ เมตร และสะพาน  คสล  ขนาด ๙.๐๐ * ๒๐.๐๐ 

 

ก่อสร้างรางระบายน้ำรูปตัวยู พร้อมฝาปิด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๘,๐๐๐,๐๐๐,๐๐

งบ อบจ

 

 

 

 

 

 

 

 

-สามารถแก้ปัญหาน้ำท่วม

ขังได้

-สะดวกปลอดภัย

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

 

 

 

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

-การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๕

 

 

 

 

๑๖

 

 

 

 

๑๗

โครงการก่อสร้างคูระบายน้ำหลังโรงเรียนอนุบาล

( หน้าบ้านครูเสถียร )

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

โครงการก่อสร้างคูระบายน้ำถนนสายหนองหญ้าปล้อง

เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

 

โครงการบุกเบิกถนนสายประชาร่วมใจเชื่อมกับถนนสายชโลดมพัฒนา (ต่อจากของเดิม)

เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้ดียิ่งขึ้นเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

 

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

ก่อสร้างคูระบายรูปตัวยู  ขนาดกว้าง ๐.๔๐ เมตร ยาว ๑๕๐.๐๐ เมตร  ลึกตามลาดเอียง ๐.๑๐ – ๐.๗๐ เมตร

ก่อสร้างคูระบายรูปตัวยู  ขนาดกว้าง ๐.๔๐ เมตร ยาว ๕๐๐.๐๐ เมตร  ลึกตามลาดเอียง ๐.๑๐ – ๐.๗๐ เมตร

โครงการบุกเบิกถนนหินคลุกขนาดกว้าง  ๕.๐๐  ม. ยาว  ๒๕๐  ม. หนาเฉลี่ย ๐.๑๕ ม. เกลี่ยเรียบพร้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๖๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

 

การคมนาคมคล่องตัวสะดวก  ปลอดภัย

-บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๘

 

 

 

 

 

๑๙

 

 

 

 

๒๐

 

 

 

 

 

๒๑

 

 

 

 

 

 

โครงการปรับปรุงถนนสายบ้านนายสนั่น  วัฒนกูล

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างถนน คสล

ภายในโรงเรียนอนุบาลเทศบาล

 

 

โครงการปรับปรุงถนนสายหน้าอำเภอ

 

 

 

 

โครงการปรับปรุงถนนสายบ้านนา – หนองเรียน

 

 

 

-ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้มาตรฐาน-รองรับความเจริญของบ้านเมือง

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

- ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้

- เพื่อความสะดวกในการรับส่งนักเรียน

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

- ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้

- เพื่อความสะดวกในการรับส่งนักเรียน

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

- ปรับปรุงผิวจราจรให้ได้

- เพื่อความสะดวกในการรับส่งนักเรียน

-สะดวกปลอดภัยในการสัญจร

 

 

 

 

โครงการบุกเบิกถนนหินคลุกขนาดกว้าง  ๕.๐๐  ม. ยาว  ๑๐๐  ม. หนาเฉลี่ย ๐.๑๕ ม. เกลี่ยเรียบพร้อม

 

โครงการก่อสร้างถนน คสล ขนาดผิวจราจร  กว้าง ๖.๐๐ ม. ยาว ๒๐ ม. หนา ๐.๑๕ ม. หินคลุกไหล่ทางด้านละ ๐.๑๕

โดยทำการปูแอสฟัลท์   ติกคอนกรีต พร้อมตีเส้นจราจร กว้าง ๖.๐๐ ม. หนา ๐.๐๕  ม. ระยะทาง ๑,๕๐๐ ม

โดยทำการปูแอสฟัลท์   ติกคอนกรีต พร้อมตีเส้นจราจร กว้าง ๘.๐๐  ม. หนา ๐.๐๕ ม. ระยะทาง ๓๐๐.๐๐ ม

 

 

 

 

 

 

 

๖๐,๐๐๐.๐๐

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒,๓๐๐,๐๐๐.๐๐

สนับสนุนจาก อบจ.

 

 

 

๗๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

 

- บ้านเมืองมีความเป็นระเบียบ

- การคมนาคมคล่องตัวสะดวกปลอดภัย

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

 

กองช่าง

 

 

๑.๒  แนวทางการพัฒนาการใช้ที่ดิน (พัฒนาการใช้ที่ดินเพื่อดำเนินการก่อสร้างอาคาร และสิ่งก่อสร้างอื่น  ๆ )

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖(บาท)

๒๕๕๘

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

 

 

 

๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างศาลาชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง (หลังใหม่)  เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

 

โครงการก่อสร้างศาลาชุมชน  (ประปาเก่า)

เสนอโดยชุมชนตลาดบน

 

โครงการอุดหนุนวัดทองประธานซ่อมแซมฌาปณสถาน

โครงการก่อสร้างแท่นล้างรถทรงสูง (บริเวณโรงฆ่าสัตว์)

 

 

 

โครงการก่อสร้างศาลาชุมชน  (โรงฆ่าสัตว์เก่า)

เสนอโดยชุมชนตลาดล่าง

 

 

เพื่อให้ประชาชนในเขตชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยงมีสถานที่ในการจัดประชุมและจัดกิจกรรมอื่น ๆ

 

เพื่อให้ประชาชนในเขตชุมชนตลาดบนมีสถานที่ในการจัดประชุมและจัดกิจกรรมอื่น ๆ

 

เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลมีสถานที่ในการฌาปณกิจ

 

เพื่อใช้สำหรับเป็นที่  ล้างรถ   รถยนต์ส่วนกลาง  รถตู้  รถขยะ

รถกระเช้า

 

เพื่อให้ประชาชนในเขตชุมชนตลาดล่างมีสถานที่ในการจัดประชุมและจัดกิจกรรมอื่น ๆ

 

ก่อสร้างศาลาชุมชน       ขนาดกว้าง  ๕.๐๐ ม. ยาว  ๘.๐๐ ม. พร้อมระบบไฟฟ้า

ก่อสร้างศาลาชุมชน       ขนาดกว้าง  ๕.๐๐ ม. ยาว  ๘.๐๐ ม. พร้อมระบบไฟฟ้า

ซ่อมแซมฌาปณสถาน

ให้อยู่ในสภาพปกติ

 

ก่อสร้างแท่นคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับล้างรถ พร้อมเทพื้นคอนกรีต

 

ก่อสร้างศาลาชุมชน       ขนาดกว้าง  ๕.๐๐ ม. ยาว  ๘.๐๐ ม. พร้อมระบบไฟฟ้า

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

มีสถานที่ในการจัดประชุมและร่วมทำกิจกรรมที่เหมาะสม

 

สถานที่ในการจัดประชุมและร่วมกิจกรรมที่เหมาะสม

 

 

ประชาชนมีสถานที่ในการฌาปณกิจศพที่ได้มาตรฐาน

มีสถานที่สำหรับล้างรถของเทศบาล

 

 

สถานที่ในการจัดประชุมและร่วมกิจกรรมที่เหมาะสม

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

 

สป

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๖.

 

 

๗.

 

 

๘.

 

 

 

๙.

 

 

 

๑๐

 

 

๑๑

โครงการก่อสร้างอาคารจอดรถพร้อมห้องดับเพลิง

 

โครงการก่อสร้างที่จอดรถสำนักงานเทศบาล

 

โครงการก่อสร้างที่จอดรถ

ประจำศูนย์สิงหราช

(อปพร.)

 

โครงการปรับปรุงศูนย์สารสนเทศชุมชน

 

 

โครงการปรับปรุงอาคารสำนักงานเทศบาล

 

โครงการปรับปรุงอาคารโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลบ้านนา

 

 

มีสถานที่จอดรถที่เหมาะสมและมีสถานที่สำหรับงานป้องกันฯ

 

เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ราชการ

 

เพื่อเป็นสถานที่สำหรับจอดรถดับเพลิงและรถน้ำของเทศบาล

 

เพื่อให้มีความพร้อมในการใช้อาคารฯ

 

 

ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสำนักงาน ให้มีความคงทนถาวร

 

ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารโรงเรียนอนุบาลให้มีความคงทนถาวร

 

ก่อสร้างอาคารจอดรถพร้อมห้องดับเพลิง

 

ก่อสร้างโรงจอดรถจำนวน  ๑ แห่ง

 

ก่อสร้างโรงจอดรถจำนวน  ๑ แห่ง

 

 

ติดตั้งเหล็กดัด/ประตูเหล็ก

 

 

ซ่อมแซมหลังคาและส่วนอื่น ๆ ที่ชำรุดของอาคารสำนักงาน จำนวน ๑ หลัง

ซ่อมแซมหลังคาและส่วนอื่น ๆ ที่ชำรุดของอาคารโรงเรียน จำนวน ๑ หลัง

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๙๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

มีสถานที่จอดรถที่เหมาะสม

และมีสถานที่สำหรับงานป้องกันฯ

มีสถานที่จอดรถที่เหมาะสม

และมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

มีสถานที่จอดรถที่เหมาะสม

และมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

 

มีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน

 

 

มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 

 

มีอาคารโรงเรียนอนุบาลที่มีความคงทนถาวร

 

สป

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

                   

 

 

 

 

๑.๓ แนวทางการพัฒนาการดำเนินการขยายเขตไฟฟ้า  น้ำประปา และการบำรุงรักษาซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

๓.

 

 

 

 

๔.

 

 

 

๕.

 

ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ

( คลอบคลุมพื้นที่

เขตเทศบาล )

 

ติดตั้งและปรับปรุงโคมไฟสาธารณะ

 

ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ

 

 

 

 

ปรับปรุง/ขยายเขตประปา

 

 

 

 โครงการติดตั้งประปาหัวแดง

 

 

 

 

- มีแสงสว่างเพียงพอและทั่วถึง

- เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 

สร้างความปลอดภัยให้ประชาชนในเวลากลางคืน

 

 

เพื่อให้ไฟฟ้าสาธารณะใช้การได้ประชาชนมีความปลอดภัยในเวลากลางคืน

 

 

ลดปัญหาการขาดแคลนน้ำ ประชาชนได้ใช้น้ำสะอาด

 

 

เพื่อเพิ่มจุดจ่ายน้ำให้มีความเพียงพอต่อเหตุการณ์

 

 

 

 

- อุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอบ้านนาสาร  เพื่อขยายเขตไฟฟ้าสายกลางทุ่ง  ฯลฯ

ติดตั้งปรับปรุงไฟฟ้าสาธารณะทุกชุมชน

 

 

ปรับปรุงไฟฟ้าสาธารณะทุกชุมชน

 

 

 

ปรับปรุงและขยายเขตประปาภายในชุมชน

 

 

ติดตั้งประปาหัวแดง

จำนวน  ๑  จุด

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

- คุณภาพชีวิตประชาชนดีขึ้น

- เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 

ประชาชนได้รับบริการด้านแสงสว่างมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 

ประชาชนได้รับบริการด้านแสงสว่างมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 

ประชาชนได้รับบริการด้านประปา มีน้ำดื่ม/น้ำใช้ที่สะอาดเพิ่มมากขึ้น

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติ

 

กองช่าง

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

กองช่าง

 

 

 

 

กองการประปา

 

 

สป

 

 

 

๑.๔  แนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่ออุปโภค - บริโภค

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

 

โครงการเจาะบ่อบาดาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้มีน้ำเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ขุดเจาะบ่อบาดาล จำนวน  ๓ บ่อ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๖๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

ประชาชนมีน้ำอุปโภค/บริโภค/และมีน้ำดิบสำหรับทำน้ำประปา

 

 

ประปา

 

 

 

 

 

 

๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          ๒.๑  แนวทางสร้างจิตสำนึกและตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

๒๕๕๗

๒๕๕๘

๑.

 

 

 

 

๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย

 

 

โครงการปลูกต้นไม้สองข้างทาง ตลอดสาย ๔๑๗๘ และสายบ้านหนองหญ้าปล้อง

เสนอโดยชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง

และชุมชนบ้านเหนือ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้เกิดความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับท้องถิ่น  และรักษาสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงทัศนียภาพให้สวยงาม

 

 

 

 

 

 

จัดให้พนักงาน  ลูกจ้าง ร่วมกันพัฒนา ภายในเขตเทศบาล อาทิตย์ละ

๑  ครั้ง ทุก ๆ วันศุกร์

 

-ดำเนินการปลูกต้นไม้สองข้างทางตลอดสาย ๔๑๗๘

และสายบ้านหนองหญ้าปล้อง

-เทศบาลสนับสนุนพันธ์ไม้ต่าง ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

เทศบาลมีความเป็นสะอาดเรียบร้อย

 

 

 

สร้างสภาพภูมิทัศน์ให้สวยงามขึ้น

 

 

 

 

 

 

 

สธ

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๓.

 

 

 

๔.

 

 

 

๕.

 

 

 

 

 

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองลำพูน

เสนอโดยชุมชนตลาดบน

 

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนริมทางรถไฟ 

เสนอโดยชุมชนบ้านเหนือ

 

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโรงเรียนอนุบาล

 

 

 

เพื่อเป็นที่พักผ่อนของประชาชนเพื่อความสวยงามในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อเป็นที่พักผ่อนของประชาชนเพื่อความสวยงามในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อเป็นที่พักผ่อนของของผู้ปกครองและเด็กนักเรียนได้มีสถานที่สำหรับทำกิจกรร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปรับปรุงทัศนียภาพบริเวณริมคลองลำพูน

 

 

ปรับปรุงทัศนียภาพบริเวณริมทางรถไฟชุมชนบ้านเหนือ

 

ปรับปรุงทัศนียภาพบริเวณโรงเรียนอนุบาลให้สวยงาม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

- สภาพภูมิทัศน์สวยงามขึ้น

- เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

 

 

- สภาพภูมิทัศน์สวยงามขึ้น

- เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

 

 

- สภาพภูมิทัศน์สวยงามขึ้น

- เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๖.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สร้างแกนนำชุมชนเพื่อการขยายผลสู่ประชาชนในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม

 

 

นักเรียน   เยาวชน  และประชาชนในเขตเทศบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นักเรียน  เยาวชน  ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม

 

 

 

สธ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒.๒  แนวทางการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียและจัดการขยะ

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

๒.

 

 

๓.

 

 

๔.

 

 

๕.

 

 

๖.

 

 

โครงการปรับปรุงฟุตบาทพร้อมท่อระบายน้ำโรงฆ่าสัตว์

โครงการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

 

จัดตั้งถังรองรับขยะในชุมชนและถนนสาธารณะ

 

ขุดลอกท่อระบายน้ำในเขตเทศบาล

 

โครงการขุดลอกคลองลำพูน

 

 

โครงการจ้างเหมาเทศบาลเมืองนาสารเพื่อจัดการฝังกลบขยะ

 

 

 

 

เพื่อระบายน้ำเสียภายในเขตเทศบาล

 

เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติและมาตรฐานของน้ำประปา

 

เพื่อแก้ปัญหาประชาชนไม่มีที่ทิ้งขยะ  และเก็บขยะได้มากขึ้น

 

เพื่อกำจัดสิ่งปฏิกูลและแก้ไขน้ำเน่าเสีย / น้ำท่วมขัง

 

เพื่อแก้ปัญหาเรื่องน้ำอุปโภคบริโภค / แก้ปัญหาน้ำท่วม

 

เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องสถานที่ทิ้งขยะ

วางท่อระบายน้ำ  ขนาด

๐.๘๐ ม. ยาวไม่น้อยกว่า ๕๐๐.๐๐ ม.

จ้างเหมาวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา  ๓ เดือน /ครั้ง

จัดซื้อถังขยะในเขตเทศบาล จำนวน  ๘๐ ใบ

 

ขุดลอกท่อระบายน้ำทุกสายในเขตเทศบาลจำนวน  ๑  ครั้ง

ขุดลอกคลองลำพูนจำนวน ๑ ครั้ง

 

อุดหนุนเทศบาลตำบลบ้านนาสารปีละ  ๑  ครั้ง

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๙,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

ขอสนับสนุนจากกรมส่งเสริมฯ

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๑๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๘๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

-ทำให้น้ำเสียระบายลงสู่บ่อบำบัด  ไม่ส่งกลิ่นเหม็น

 

ทำให้รู้ถึงมาตรฐาน/คุณภาพของน้ำประปา

 

ประชาชนมีที่ทิ้งขยะเพียงพอ

 

 

ท่อระบายน้ำไม่ส่งกลิ่นเหม็นจากน้ำเน่าเสีย /น้ำท่วมขัง

 

ประชาชนได้รับการแก้ปัญหาเรื่องน้ำท่วมขัง

 

แก้ปัญหาในเรื่องสถานที่ทิ้งขยะได้ และรักษาสิ่งแวดล้อม

กองช่าง

 

 

กองการประปา

 

สธ

 

 

สธ

 

 

กองช่าง

 

 

สธ

 

 

 

           

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๗.

 

 

 

 

โครงการจัดซื้อเตาเผา

ขยะไร้ควัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-เพื่อไว้ใช้สำหรับการกำจัดขยะ

- รักษาสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จัดซื้อเตาเผาขยะไร้ควัน จำนวน ๑ ชุด พร้อมอุปกรณ์ครบชุด

 

 

 

 

 

 

 

 

๕,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

งบ กรมสงเสริมฯ

- มีอุปกรณ์สำหรับกำจัดขยะ

ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

 

 

สธ

 

 

 

 

 

 

 

๒.๓  แนวทางการพัฒนากลไกและระบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการสร้างจิตสำนึกของชุมชนในการรักษาสิ่งแวดล้อม

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

 

๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการน่าบ้านน่ามอง

 

 

 

 

โครงการ ถิ่น

เสนอโดย ชุมชนภายในเทศบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส่งเสริมให้ประชาชนรักษาบ้านเรือนให้สะอาดตา น่าอยู่

น่าอาศัย

 

 

เพื่อเป็นแหล่งพบปะพูดคุย ของคนภายในชุมชน ทั้งเรื่องสุข เรื่องทุกข์ และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จัดให้มีป้ายชื่อเจ้าบ้านทุกหลังครัวเรือน และให้มีไม้ดอกไม้ประดับ รณรงค์การรักษาความสะอาดบริเวณบ้านเรือน

ประชาชนในชุมชนได้พบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้  บริเวณลานประปาเก่า

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

ประชาชนมีบริเวณบ้านสะอาดตาน่าอยู่น่าอาศัยและสร้างทัศนียภาพในชุมชนให้สวยงาม

 

 

 

ประชาชนในชุมชนได้พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน เพื่อนำเอาสิ่งที่เป็นประโยชน์ไปพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งต่อไป

สธ

 

 

 

 

 

สป

 

 

๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 

๓.๑  แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งและการบริการจัดการกลุ่ม

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

 

๓.

 

 

 

๔.

 

 

 

 

โครงการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ

 

 

 

โครงการมหกรรมเทศกาลอาหารสะอาด

 

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มพัฒนาสตรีในเขตเทศบาล

 

โครงการค่ายคุณธรรมนำใจเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด

เพื่อให้ประชาชนได้รวมกลุ่ม จัดตั้งกลุ่มอาชีพ/ส่งเสริมการมีงานทำ/เสริมสร้างความเข้มแข็ง

-เพื่อให้ผู้บริโภคบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักอนามัย

- ส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้จากการขายอาหาร

 

เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของกลุ่มองค์กรสตรี

 

 

เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนรักการอ่าน

 

จัดตั้งกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลทั้ง  ๔ ชุมชน

 

 

จัดโครงการมหกรรมอาหารสะอาด

ปีละ  ๑ ครั้ง

 

 

สนับสนุนวัสดุต่าง ๆ  แก่กลุ่มพัฒนาสตรีในเขตเทศบาล

 

จัดโครงการเข้าค่ายเยาวชน  จำนวน

  ๑  ครั้ง

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

งบเทศบาล

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

งบ อบจ

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

ประชาชนได้รวมกลุ่มรู้จักการจัดการบริหารงานแบบกลุ่มชุมชนเข้มแข็ง

 

 

-ประชาชนมีรายได้เสริมจากการจัดงาน   ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและถูกหลักอนามัย

 

กลุ่มพัฒนาสตรีได้รับการสนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม

 

 

เยาวชนในเขตเทศบาลได้รับการปลูกฝังให้รักการอ่านและได้รับประโยชน์จากการทำกิจกรรมกลุ่ม

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๕.

 

 

 

 

๖.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้

 

 

 

โครงการสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อลดค่าครองชีพและเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว และเพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน

 

เพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนในกองทุน

ประชาชนในเขตเทศบาล

 

 

 

 

สมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน  ๑  ส่วน

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

ทำให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและเพิ่มรายได้

 

 

กองทุนสวัสดิการชุมชนมีความมั่นคงและเข้มแข็ง

สป

 

 

 

 

สป

 

 

๔. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารสาธารณสุข  คุณภาพชีวิต

๔.๑ แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของชุมชนและการจัดการด้านสาธารณสุขมูลฐาน การอนามัยสิ่งแวดล้อม  ยาเสพติดและโรคเอดส์

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

๒.

 

 

 

๓.

 

๔.

 

 

 

๕.

 

โครงการดำเนินการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน

(อุดหนุน อสม)

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ

ส่งเสริมสุขภาพประชาชนตามโครงการของ (สปสช)

 

 

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดอำเภอบ้านนาเดิม

 

 

 

 

เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานและกิจกรรม  อสม.

 

ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้ดีขึ้น

 

 

 

เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของกลุ่มองค์กรสตรี

เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

 

 

เพื่อสนับสนุนกิจกรรม ศตส. อำเภอบ้านนาเดิม

สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน  ทุกชุมชน

ตรวจสุขภาพ ดูแลให้คำแนะนำสุขภาพผู้สูงอายุทุกชุมชน อย่างน้อยเดือนละ  ๑  ครั้ง

จัดฝึกอบรมและทัศนศึกษาดูงาน จำนวน ๑ครั้ง

ส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพประชาชนในเขตเทศบาล

 

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดอำเภอ

บ้านนาเดิม

๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

ประชาชนได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง

 

ผู้สูงอายุได้รับการดูแลด้านสุขภาพมากขึ้น

 

 

ผู้สูงอายุได้ร่วมกิจกรรมและสุขภาพกาย สุขภาพใจดีขึ้น

ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีสุขภาพกาย  สุขภาพใจแข็งแรง

 

การปฏิบัติงานทุกกิจกรรมของ ศตส. มีประสิทธิภาพลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่

สธ

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

สธ

 

 

สป

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

 

 

 

๗.

 

 

๘.

 

 

 

๙.

 

 

 

๑๐.

 

 

 

๑๑.

 

 

๑๒

 

 

โครงการตลาดสดน่าซื้อ

 

 

 

สมทบกองทุน  สปสช

 

 

โครงการป้องกันและควบคุมยาเสพติด

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุข

 

 

โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดแก่เด็กก่อนวัยเรียน

 

 

โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด

 

โครงการออกหน่วยเคลื่อนที่

เพื่อจัดตลาดให้มีความสะอาดและสินค้าแยกประเภท

 

 

เพื่อส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพประชาชนในเขตเทศบาล

 

เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้กับสถาบันครอบครัวให้เอาใจใส่ลูกหลานอย่างต่อเนื่อง

 

เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการดำเนินงานสาธารณสุขในชุมชน

 

 

เพื่อให้เด็กรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติดตั้งแต่ก่อนวัยเรียน

 

 

เพื่อบำบัดฟื้นฟูเยาวชนผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด

 

เพื่อส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพประชาชนในเขตเทศบาล

 

ผู้ประกอบกิจการจำหน่ายสินค้าในตลาดสดและประชาชนผู้สนใจ

 

ส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพประชาชนในเขตเทศบาล

จัดอบรมจำนวน  หนึ่งครั้งกลุ่มเป้าหมายประมาณ  ๖๐  คน

 

เครื่อข่าย อสม. ในเขตเทศบาล /สาธารณสุขอำเภอบ้านนาเดิม

 

จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาล

 

จัดอบรมจำนวน  หนึ่งครั้งกลุ่มเป้าหมายประมาณ  ๑๐  คน

จัดออกหน่วยเคลื่อนที่ปีละ ๔  ครั้ง

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๗๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๔๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๕,๐๐๐.๐๐

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐๐

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๗๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๗๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

ทำให้ผู้ขายสินค้ามีความตระหนักในอันตรายที่เกิดจากตลาดที่ไม่สะอาด

 

ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีสุขภาพกาย  สุขภาพใจแข็งแรง

ทำให้บุคคลในครอบครัวห่างไกลจากการติดยาเสพติด

 

 

อสม.  มีศักยภาพในด้านการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขภาพในชุมชนได้เป็นอย่างดี

ทำให้เด็กรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด

 

 

ทำให้เยาวชนสามารถเลิกเสพยาเสพติดได้

 

ประชาชนได้รับการดูแลมากขึ้น

สธ

 

 

 

สธ

 

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

สธ

 

 

๔.๒  แนวทางการพัฒนา  ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อและโรคจากสัตว์

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

 

๓.

 

 

 

 

๔.

 

 

 

 

๕.

โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า

 

 

โครงการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากแมลงสาป/หนู

 

 

 

โครงการควบคุมโรคที่เกิดจากยุง(ไข้เลือดออก)

 

 

 

โครงการควบคุมโรคปากเท้าเปื่อยจากสัตว์

 

 

 

โครงการควบคุมโรคติดต่อและไม่ติดต่อ

 เพื่อให้มีการควบคุมและฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรค

 

 

เพื่อป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากแมลงสาป/หนู

 

 

 

เพื่อป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากยุง

 

 

 

เพื่อป้องพันและกำจัดโรคติดต่อจากสัตว์

 

 

 

เพื่อป้องกันและกำจัดโรคติดต่อ

ตามฤดูกาล

 

 

สุนัขทุกตัวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษ  สุนัขบ้า  ในเขตชุมชนทั้ง ๔ ชุมชน

กำจัด /รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากแมลงสาป/หนู เดือนละ ๑  ครั้ง

พ่นยุง/กำจัด /รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากยุง

 เดือนละ ๑  ครั้ง

กำจัด /รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อจากสัตว์  เดือนละ ๑  ครั้ง

กำจัด /รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อ

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

ทำให้สามารถควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคได้

 

 

ลดการแพร่ระบาดของโรค ประชาชนมีสุขาภพอนามัยดีขึ้น

 

 

ลดการแพร่ระบาดของโรค ประชาชนมีสุขาภพอนามัยดีขึ้น

 

 

ลดการแพร่ระบาดของโรค ประชาชนมีสุขาภพอนามัยดีขึ้น

 

 

ลดการแพร่ระบาดของโรค ประชาชนมีสุขาภพอนามัยดีขึ้น

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

 

สธ

 

 

 

 

สธ

 

 

 

 

สธ

 

 

๔.๓ แนวทางการพัฒนาสุขาภิบาลชุมชนและสถานที่

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการปรับปรุงตลาดสดเทศบาล

 

 

โครงการปรังปรุงโรงฆ่าสัตว์

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้ประชาชนสามารถมีแหล่งซื้อขายอาหารที่มีสุขลักษณะที่ดี

 

 

เพื่อปรับปรุงโรงฆ่าสัตว์ให้ได้มาตรฐาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปรับปรุงต่อเติม อาคาร  ระบบไฟฟ้า แผง และอุปกรณ์อื่นที่ชำรุด

 

ปรับปรุงระบบการทำความสะอาดโรงฆ่าสัตว์และระบบการฆ่าสัตว์

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มีตลาดสดที่น่าซื้อและถูกสุขลักษณะ

 

 

โรงฆ่าสัตว์ได้รับมาตรฐาน

 

 

 

สธ

 

 

 

สธ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วม

๕.๑ แนวทางการพัฒนาส่งเสริมการสงเคราะห์แก่เด็ก  สตรี  คนชรา  ผู้ด้อยโอกาส ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ผู้มีปัญหาทางสังคม

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๘

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

๒.

 

 

 

๓.

 

 

๔.

 

 

 

 

๕.

โครงการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ

 

โครงการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพคนพิการ

 

 

โครงการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์

 

โครงการสงเคราะห์เด็ก  เยาวชน , คนไร้ที่พึ่ง ,  ที่มีรายได้น้อยและผู้ที่ควรช่วยเหลือ

 

โครงการช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบสาธารณภัย

 

 

 

 

 

เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุในเขตเทศบาล

 

เพื่อให้การช่วยเหลือผู้พิการในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเอดส์ในเขตเทศบาล

 

เพื่อให้การช่วยเหลือแก่ผู้ยากไร้ทุกชุมชนในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อช่วยเหลือประชาชนด้านชีวิตความเป็นอยู่

ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาส ถูกทอดทิ้ง ขาดคนดูแล

 

สนับสนุนเบี้ยยังชีพคนพิการในเขตเทศบาล

 

 

ผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 

๓ คน

 

ผู้ยากไร้  ผู้ด้อยโอกาสในเขตเทศบาล

 

 

 

ประชาชนผู้ประสบ     สาธารณภัยได้รับการดูแล

๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๘,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๘,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๘,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ทำให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลได้รับการดูแลอย่างดี

ทำให้คนพิการทุกคนในเขตเทศบาลได้รับการดูแลอย่างดี

 

ทำให้ผู้ป่วยเอดส์ในเขตเทศบาลได้รับการดูแลอย่าง ดี

ผู้ที่รากไร้ในเขตเทศบาลได้รับการดูแลทุกคน

 

 

 

ทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้น

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๖.

 

 

 

 

 

๗.

โครงการส่งเสริมและพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

 

 

 

โครงการบ้านท้องถิ่นเทิดไท้องค์ราชัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนที่พลเมืองดีแต่ยากไร้ ให้มีที่อยู่อาศัยมั่นคงแข็งแรง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา

 

 

 

 

ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุงที่อยู่อาศัย ให้แก่ผู้ยากไร้ในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

 

 

 

ประชาชนที่พลเมืองดี แต่ยากไร้มีที่อยู่อาศัยมั่นคงแข็งแรง

สป

 

 

 

 

 

 

สป

 

 

 

๕.๒  แนวทางการพัฒนาส่งเสริมสวัสดิการ  กีฬาและกิจกรรมนันทนาการ

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

๓.

 

 

 

 

 

๔.

 

โครงการอุดหนุนอำเภอบ้านนาเดิม และ โรงเรียนบ้านนาวิทยาคม เพื่อแข่งขันกีฬา  นักเรียน  เยาวชน  ประชาชน

โครงการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนสัมพันธ์

 

 

โครงการจัดส่ง พนักงานเทศบาล  เยาวชน แข่งขันกีฬา  ชนิดต่าง ๆ  ตามที่หน่วยงานอื่นหรือองค์กรอื่นจัดแข่งขันในทุกระดับ

 

โครงการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์กีฬาสำหรับชุมชน  และเทศบาล

 

 

 

 

 

-เพื่อส่งเสริมการกีฬา

-เพื่อต่อต้านยาเสพติด

 

 

เพื่อสร้างความสามัคคี  ภายในระหว่างชุมชน  และส่งเสริมให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

 

เพื่อให้ พนักงานเทศบาล เยาวชน  มีส่วนร่วม กับหน่วยงานอื่น หรือองค์กรอื่น

 

 

 

-เพื่อส่งเสริมการกีฬา

-เพื่อต่อต้านยาเสพติด

จัดการแข่งขันนักเรียน เยาวชน  ประชาชน

 

 

จัดการแข่งขันกีฬาชุมชนสัมพันธ์

 

 

จำนวนนักกีฬาที่จัดส่ง จำนวน  ๕๐  คน

 

 

 

 

จัดหาอุปกรณ์ให้ชุมชนทุกชุมชนในเขตเทศบาล

จัดหาอุปกรณ์กีฬาให้พนักงานเทศบาลไว้ฝึกซ้อมเพื่อแข่งขัน

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๓๕,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

-นักเรียน  เยาวชน  ประชาชน มีสุขภาพที่ดี   ห่างไกลยาเสพติด

 

- ประชาชน ในชุมชน  มีความรักสามัคคี  และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 

 

พนักงานเทศบาล  เยาวชนมีทักษะทางด้านกีฬามากขึ้น

 

 

 

 

ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

สป

 

 

 

­สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๕.

 

 

 

๖.

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการจัดการแข่งขันฟุตบอล

 

 

โครงการจัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอล

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์กีฬา

 

 

 

 

 

 

 

 

-เพื่อส่งเสริมการกีฬา

-เพื่อต่อต้านยาเสพติด

-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

 

 

-เพื่อส่งเสริมการกีฬา

-เพื่อต่อต้านยาเสพติด

-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

 

เพื่อให้มีอุปกรณ์สำหรับการแข่งขัน  เล่นกีฬา และฝึกซ้อม

จัดการแข่งขัน   เยาวชน  และประชาชนทั่วไป

 

 

 

จัดการแข่งขัน   เยาวชน  และประชาชนทั่วไป

 

 

จัดซื้อครุภัณฑ์กีฬา ให้เพียงพอต่อความต้องการ

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-นักเรียน  เยาวชน  ประชาชน มีสุขภาพที่ดี   ห่างไกลยาเสพติด

- ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

-นักเรียน  เยาวชน  ประชาชน มีสุขภาพที่ดี   ห่างไกลยาเสพติด

 

- ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

- มีอุปกรณ์เพียงพอสำหรับการเล่นกีฬา

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๘.

 

 

 

๙.

 

 

๑๐.

 

 

 

๑๑.

โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ

 

 

โครงการอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน

 

โครงการจัดตั้งศูนย์อเนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุ

ในชุมชน

 

โครงการจ้างนักเรียน/นักศึกษาทำงานช่วงปิดภาคเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน  และสร้างการมีส่วนร่วมในกลุ่มผู้สูงอายุ

 

เพื่อได้ดูแลผู้สูงอายุ  และให้ความรู้การดูแลตัวเอง

 

เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน  และได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน

 

เพื่อให้นักเรียนนัก/นักศึกษามีรายได้เป็นการแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง

จัดฝึกอบรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาล ประชุมสัมมนา ทัศนศึกษาดูงานให้แก่ผู้สูงอายุ

อาสาสมัคร  รุ่นละ

๒๐ คน

 

ผู้สูงอายุในเขตเทศบาล

 

 

 

นักเรียน/นักศึกษาในเขตเทศบาล

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผู้สูงอายุได้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน  และได้ประสบการณ์

มีคุณภาพชีวิตทดี

 

ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี

 

เพิ่มศักยภาพของผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

 

 

เสริมสร้างรายได้ให้แก่นักเรียน/นักศึกษา

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๒.

 

 

 

 

 

 

โครงการก่อสร้าง  ปรับปรุงลานกีฬา  สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สถานที่ออกกำลังกาย สวนสุขภาพ และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้มีสถานที่สำหรับออกกำลังกายและพักผ่อนหย่อนใจอย่างเพียงพอ

 

 

 

 

จัดหา/ปรับปรุง สถานที่และเครื่องออกกำลังกายสำหรับประชาชนให้เพียงพอ

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

ประชาชนมีสถานที่สำหรับออกกำลังกายมากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการ

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕.๓ แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาเทศบาล

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

 

๓.

 

 

 

๔.

 

 

 

โครงการประชุมสัมมนาผู้นำชุมชน /กรรมการชุมชน

 

 

โครงการจัดทำข้อมูลประชาสัมพันธ์กิจการของเทศบาล

 

 

โครงการจัดทำเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนพัฒนาสามปี

 

 

โครงการจัดทำประชาพิจารณ์สำรวจความคิดเห็นของประชาชน

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อส่งเสริมการบริหาร  การปกครอง ระบบชุมชนของเทศบาล

 

- เพื่อเผยแพร่ผลงานของเทศบาล

- เพื่อให้ความรู้ต่าง  ๆ  แก่ประชาชน

 

เพื่อรับทราบปัญหาความต้องการของประชาชนในเขตเทศบาล  ทั้ง  ๔  ชุมชน 

 

เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

จัดสัมมนากรรมการชุมชน  จำนวน  ๔  ชุมชน

 

จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์กิจการของเทศบาล

 

 

จัดทำเวทีประชาคม ในเขตเทศบาล  ทั้ง  ๔  ชุมชน

 

จัดทำประชาพิจารณ์สำรวจความคิดเห็นของประชาชน

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

- กรรมการชุมชนมีความรู้ความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของตนเอง

 

-ชุมชนมีความเข้มแข็งขึ้น

ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับเทศบาลและวิชาการอื่น  ๆ

 

 

ได้รับทราบปัญหาความต้องการของประชาชน

 

 

 ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงออกความคิดเห็นเพื่อพัฒนาเทศบาล

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗ (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๕.

 

 

 

 

๖.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการทัศนศึกษา ดูงาน แก่ผู้บริหาร  พนักงานเทศบาล กรรมการชุมชน  และประชาชน    ในเขตเทศบาล

 

โครงการจัดงานวันเทศบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

- เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฎิบัติงานของเทศบาล

- เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเทศบาลและชุมชน

 

เพื่อเน้นให้เห็นถึงความความสำคัญของหน่วยงาน      ที่ก่อตั้งมายาวนานและจัดกิจกรรมต่าง  ๆ  ในส่วนของเทศบาล

 

จัดอบรม  ดูงาน สัมมนานอกสถานที่  จำนวน

 ๑ อาทิตย์

 

 

จัดงานวันเทศบาลทุกปีจำนวน  ๑  ครั้ง 

 

 

 

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

- การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

- มีความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและเทศบาล

 

ทำให้ประชาชนได้ทราบถึงกิจการและความก้าวหน้าของหน่วยงานเทศบาล

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕.๔  แนวทางการพัฒนาด้านการศึกษา  ส่งเสริมกิจกรรม เด็ก เยาวชน ประชาชน และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

๓.

 

 

 

๔.

 

 

๕.

 

โครงการจัดซื้อวัสดุการเรียนการสอน ให้กับโรงเรียนอนุบาลเทศบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงานให้โรงเรียนอนุบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

โครงการจัดซื้ออาหารเสริม (นม) ให้เด็กนักเรียนอนุบาล

และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

โครงการจัดหาอาหารกลางวันให้แก่เด็กอนุบาล

และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล

 

 

 

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน

 

 

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

 

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน

 

 

- เพื่อให้เด็กนักเรียนมีนมดื่มทุกวัน   ให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง 

เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

จัดหาอุปกรณ์  การเรียนการสอน ระดับอนุบาล ให้เพียงพอแก่จำนวนนักเรียน

จัดซื้อกล้องถ่ายรูป

 

 

จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน

เช่น  โต๊ะ  เก้าอี  ตู้เอกสาร  ฯลฯ

 

จัดหาอาหารเสริม (นม)ให้นักเรียนทุกคน

 

 

จัดหาอาหารกลางวันให้แก่เด็กนักเรียน

๘๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๖๐๐,๐๐๐.๐๐

 

๘๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๖๐๐,๐๐๐.๐๐

๘๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๖๐๐,๐๐๐.๐๐

พัฒนาทักษะในการเรียนให้เด็กนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล

 

 

มีประสิทธิภาพในการทำงาน

 

 

ทำให้จัดการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

 

ทำให้จัดการศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

- เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่ดี

- เด็กนักเรียนมีภูมิต้านทานต่อโรคภัยไข้เจ็บ

- เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

สป

 

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๖.

 

 

๗.

 

 

 

๘.

 

 

 

 

 

๙.

โครงการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ

 

โครงการจัดงานรัฐพิธี

 

 

 

โครงการส่งเสริมงานประเพณีและเอกลักษณ์ท้องถิ่น

 

 

 

โครงการก่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อให้ความความสำคัญกับเด็กซึ่งต่อไปจะเป็นอนาคตของชาติ

เพื่อแสดงความจงรักภักดี และรักษาเอกลักษณ์ของชาติ ศาสนา  และพระมหากษัตริย์

 

 

- เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น

 

 

 

 

เพื่อให้เทศบาลมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีคุณภาพสามารถรองรับเด็กเล็กเข้าเรียนได้เพียงพอ

 

 

 

 

 

จัดงานวันเด็กในเขตเทศบาล

 

จัดงานและร่วมงานวันสำคัญของชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์

 

- จัดงานประเพณีลอยกระทง

- จัดงานประเพณีวันสงกรานต์ งานสมโภชน์หลวงพ่อทอง

 

- จัดงานวันขึ้นปีใหม่

ก่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน  ๑ แห่ง

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๑,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

เด็กและเยาวชนได้รับการดูแล

 

รักษาเอกลักษณ์ของชาติ  ศาสนา พระมหากษัตริย์

 

 

รักษาเอกลักษณ์ประเพณี 

ท้องถิ่น

 

 

 

 

เทศบาลตำบลบ้านนามีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสำหรับรองรับเด็กเล็กในชุมชนได้

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๐.

 

 

 

๑๑.

 

 

 

 

๑๒.

 

 

 

 

 

โครงการอนุรักษ์สืบสานงานประเพณีลอยกระทง/สงกรานต์ (อุดหนุนชุมชนทั้ง๔ ชุมชน

โครงการอนุรักษ์สืบสานงานประเพณีลอยกระทง/สงกรานต์ (อุดหนุนสภาวัฒนธรรมอำเภอบ้านนาเดิม

 

โครงการอนุรักษ์สืบสานงานประเพณีลอยกระทง/สงกรานต์ (อุดหนุนส่วนราชการภายในอำเภอบ้านนาเดิมที่ร่วมกิจกรรม)

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานศาสนา  ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น

 

เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานศาสนา  ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น

 

 

เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานศาสนา  ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น

 

อุดหนุนงบประมาณชุมชนทั้ง ๔ ชุมชน

 

 

อุดหนุนงบประมาณสภาวัฒนธรรมอำเภอบ้านนาเดิม

 

 

อุดหนุนงบประมาณสภาวัฒนธรรมอำเภอบ้านนาเดิม

๖๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๕,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๖๐,๐๐๐.๐๐

 

 

ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นดำรงอยู่และสืบทอดตลอดไป

 

 

ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นดำรงอยู่และสืบทอดตลอดไป

 

 

 

ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นดำรงอยู่และสืบทอดตลอดไป

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๓.

 

 

 

๑๔.

 

 

 

๑๕.

 

 

 

 

๑๖.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ให้กับโรงเรียนอนุบาลฯ

 

โครงการฝึกอบรม และ    ทัศนศึกษาดูงานครูโรงเรียน

อนุบาล

 

โครงการก่อสร้างโรงอาหารกลางวันสำหรับโรงเรียนอนุบาล

 

 

โครงการจัดซื้อเครื่องเล่นสนามกลางแจ้ง

 

 

เพื่อให้ครูและเจ้าหน้าที่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ใช้ในการปฏิบัติงาน

 

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

 

 

เพื่อให้เด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลมีสถานที่รับประทานอาหารกลางวันที่เหมาะสม

เป็นสัดส่วน

 

เพื่อให้เด็กนักเรียนอนุบาลได้มีเครื่องเล่นสนามกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการของเด็กตามวัย

 

จัดหาคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ครบชุด

 

 

จัดให้มีการฝึกอบรม   ศึกษาดูงาน  ด้านการศึกษา

 

ก่อสร้างโรงอาหารกลางวัน  จำนวน ๑ หลัง

 

 

 

เครื่องเล่นกลางแจ้งจำนวน  ๑  ชุด

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๕๐,๐๐๐.๐๐

ครูและเจ้าหน้าที่ได้ทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

 

การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

เด็กนักเรียนมีสถานที่สำหรับรับประทานอาหารที่เหมาะสมและเป็นสัดส่วน

 

 

 

เด็กนักเรียนอนุบาลได้มีเครื่องเล่นสนามกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการของเด็กตามวัย

 

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

สป

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๗.

 

 

๑๘.

 

 

 

๑๙.

 

 

 

 

โครงการจัดซื้อเครื่องดนตรีไทย  ดนตรีสากล

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ (ลูกข่าย)

 

 

โครงการให้ทุนการศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท  สำหรับ ผู้บริหารท้องถิ่น  สมาชิกสภาฯ ข้าราชการ   และลูกจ้างของเทศบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนหันมาเล่นดนตรี 

 

 

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

 

 

- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

- เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จัดซื้ออุปกรณ์ดนตรี เพื่อใช้ประกอบการเรียน

 

 

จัดซื้อครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ  เช่น โทรทัศน์  ซีดี

ฯลฯ

 

สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับบุคลากรของเทศบาล  ทั้งระดับปริญญาตรี และ ปริญญาโท

 

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เด็กนักเรียนหันมาเล่นดนตรี

และได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

 

บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทำงาน และมีศักยภาพ

 

สป

 

 

กองช่าง

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๒๐.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างรั้วโรงเรียนอนุบาลพร้อมป้ายโรงเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อป้องกัน /รักษาทรัพย์สินและรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สร้างรั้วรอบอาคารโรงเรียนอนุบาลเทศบาล

 

 

 

 

 

๑,๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โรงเรียนอนุบาลเทศบาลมีรั้วเพื่อป้องการและเพิ่มการรักษาความปลอดภัย

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๖. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพ  การเมือง การบริหาร  และบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

๖.๑ แนวทางการพัฒนาศักยภาพ  จริยธรรม  คุณธรรม  และเพิ่มความสามารถของบุคลากร

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

๓.

 

 

๔.

 

 

 

 

 

โครงการฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรมแก่บุคลากร

 

 

โครงการอบรมการใช้คอมพิวเตอร์                      
 

 

โครงการปรับปรุงแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

 

โครงการส่งบุคลากรของเทศบาลเข้าร่วมอบรมสัมมนา

 

 

 

เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาล

 

 

เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร

 

 

เพื่อพัฒนารายได้ของเทศบาล

 

 

เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จัดโครงการการสัมมนา ของเทศบาล ปีละ ๑  ครั้ง

 

จัดส่งพนักงานและลูกจ้างเข้าอบรมการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่าง ๆ

ปรับปรุงโปรแกรมแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

จัดส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมตามหนังสื่อสั่งการต่าง ๆ

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

พัฒนาประสิทธิภาพและศักยภาพของบุคลากร

 

 

บุคลากรปฎิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

 

งานจัดเก็บรายได้ทั่วถึงและคลอบคลุมทั่วเทศบาล

 

บุคลากรปฎิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

และได้นำความรู้มาพัฒนางานในหน้าที่และที่ได้รับมอบหมาย

สป

 

 

 

ทุกสำนัก/กอง

 

 

กองคลัง

 

 

ทุกสำนัก/กอง

 

 

 

๖.๒ แนวทางการปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ปฏิบัติงาน

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

 

๒.

 

 

 

 

๓.

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ

 

 

โครงการจัดซื้อซุ้มเฉลิมพระเกียรติ

 

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อสร้างความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

- เพื่อใช้ในกิจกรรมวันสำคัญ

ของชาติ

 

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

จัดซื้อเครื่อง รับ –ส่งวิทยุสื่อสาร  เครื่องขยายเสียง

วิทยุเทป – ซีดี  ชุดควบคุมไฟ เปิด – ปิดฯลฯ

จัดทำซุ้มเฉลิมพระเกียรติจำนวน ๑  แห่ง

 

 

 

-จัดซื้อโต๊ะทำงานพร้อมเก้าอี้

-จัดซื้อตู้เก็บเอกสาร

-จัดซื้อเครื่องโทรศัพท์

-โต๊ะอเนกประสงค์ และเก้าอี้พลาสติก

- ตู้บอร์ดประชาสัมพันธ์

-ครุภัณฑ์อื่น  ๆ  ที่จำเป็น

 

 

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

สามารถปฎิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

 

 

ใช้จัดงาน-ประดับ วันสำคัญของชาติ

 

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

ทุกสำนัก/กอง

 

 

 

สป

 

 

 

 

ทุกสำนัก/กอง

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๔.

 

 

 

 

 

 

๕.

 

 

๖.

 

 

๗.

 

 

๘.

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์โรงงาน

 

 

 

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์การเกษตร

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว

 

โครงการก่อสร้างโรงเก็บพัสดุและบ้านพักพนักงานดับเพลิง

 

โครงการติดตั้งปรับปรุงเสียงตามสาย

 

 

 

 

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

 

 

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

เพื่อให้เกิดความสะดวกและเป็นระเบียบเรียบร้อย

 

เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของเทศบาลและหน่วยงานอื่นได้

คลอบคลุมทุกพื้นที่ในเขตเทศบาล

-จัดซื้อสว่านไฟฟ้า

-จัดซื้อเลื่อยวงเดือน

-จัดซื้อมอเตอร์ไฟฟ้า

- จัดซื้ออุปกรณ์ในการทำงานไฟฟ้า

-ครุภัณฑ์อื่นที่จำเป็น

 

จัดซื้อครุภัณฑ์การเกษตร และครุภัณฑ์อื่นที่จำเป็น

 

จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องครัว

เช่น คูลเลอร์แสตนเลส

เครื่องตัดหญ้า

ก่อสร้างโรงเก็บพัสดุและบ้านพักพนักงาน

 

จัดซื้ออุปกรณ์/ปรับปรุงและบำรุงรักษาเสียงตามสาย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๓๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๓๐๐,๐๐๐.๐๐

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

 

 

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง

 

 

กองช่าง

ประปา

 

 

 

 

 

สป/สธ

ประปา

 

สป/สธ

สธ

 

กองช่าง

 

 

กองช่าง

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๙.

 

 

 

๑๐.

 

 

๑๑.

 

 

๑๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง

 

 

โครงการจัดทำป้ายชุมชน

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

 

อุดหนุนศูนย์รวมข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อำเภอบ้านนาเดิม)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

 

เพื่อแสดงเขตชุมชนให้ชัดเจน

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

เพื่อสนับสนุนศูนย์รวมข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างขององค์กรปกครองท้องถิ่น

 

 

- จัดซื้อรถยนต์

-จัดซื้อรถจักรยานยนต์

- รถน้ำ  รถดับเพลิง

- รถกู้ชีพ กู้ภัย

จัดทำป้ายเขตชุมชน จำนวน  ๔  ชุมชน

 

จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ  จำนวน   ๒  เครื่อง 

อุดหนุนศูนย์รวมข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างขององค์กรปกครองท้องถิ่น

 

 

๓,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

ศูนย์รวมจัดซื้อจัดจ้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพร้อมในการดำเนินการได้อย่างโปร่งใส

 

สป

กองช่าง

สป

 

กองช่าง

 

 

ทุกสำนักกอง

 

กองคลัง

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๓.

 

 

 

๑๔.

 

 

๑๕.

 

 

๑๖.

 

 

๑๗.

 

 

 

๑๘.

 

 

๑๙.

ก่อสร้างสำนักงานเทศบาลพร้อมที่จอดรถ

 

 

จัดทำป้ายบอกเขตเทศบาลตำบลบ้านนา

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่

 

โครงการซ่อมแซมรถขยะ/รถกระเช้า/รถดับเพลิง

 

โครงการจัดซื้อกล้องวงจรปิด

 

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์สำรวจ

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์โรงงาน

 

 

 

เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อราชการและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

 

เพื่อบอกเขตความรับผิดชอบ

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

เพื่อรักษา เฝ้าระวัง ความปลอดภัย ของบุคคลและสถานที่

 

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

เพื่อใช้ในการปฎิบัติงานราชการต่าง  ๆ  ของเทศบาล

 

ก่อสร้างสำนักงานเทศบาลพร้อมที่จอดรถจำนวน  ๑ แห่ง

 

จัดทำป้ายเทศบาล  จำนวน  ๘ ป้าย

 

จัดซื้อกล้องถ่ายรูปจำนวน  ๑  เครื่อง

 

ปรับปรุงรถขยะ/รถกระเช้า/รถดับเพลิง

 

ติดตั้งกล้องวงจรปิดในเขตเทศบาล  จำนวน 

๕ จุด

 

มีความพร้อมในการปฎิบัติงาน

 

มีความพร้อมในการปฎิบัติงาน

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๖๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒๓,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

งบ กรมส่ง

เสริมฯ

 

 

 

 

 

ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่อราชการ และบุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

บอกเขตความรับผิดชอบได้ชัดเจน

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

รักษา เฝ้าระวัง ความปลอดภัย ของบุคคลและสถานที่

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

สป

 

 

 

สป

 

 

สป

 

 

สธ

 

 

สป

 

 

 

กองช่าง

 

 

กองช่าง/ปป

 

 

๖.๓  แนวทางการพัฒนางานป้องกันบรรเทาสาธารณภัย

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑.

 

 

๒.

 

 

๓.

 

 

 

๔.

 

 

 

 

 

๕.

โครงการป้องกันอุบัติเหตุช่วงเทศกาล

 

โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์ - วัสดุอุปกรณ์จราจร

 

โครงการอบรมฝึกทบทวน (อปพร.)

 

 

โครงการติดตั้งสถานีวิทยุประจำที่

 

 

 

 

โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

 

 

 

เพื่อป้องกันอุบัติเหตุในเขตเทศบาล

 

เพื่อให้ประชาชนได้สัญจรไป - มาได้สะดวกและปลอดภัย

 

เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการรู้จักวิธีป้องกันภัยที่อาจจะเกิดได้ตลอดเวลา

 

เพื่อติดต่อสื่อสารงานสาธารณภัยของหน่วยงาน ระหว่าง อปท. ด้วยกันให้มีประสิทธิภาพ

 

 

 

เพื่อจัดเตรียมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร(อปพร) เครื่องมือ เครื่องใช้ พร้อมที่จะใช้งานเมื่อเกิดสาธารณภัยได้อย่างทันท่วงที

 

จัดตั้งจุดตรวจในเขตเทศบาลทุกเทศกาล

 

ติดตั้งสัญญาณไฟจราจร / ป้ายจราจร 

 

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน

๔๐  คน

 

 

ติดตั้งเสาสูง  ขนาด ๔๕ เมตร มีวิทยุประจำที่ จำนวน ๑  เครื่อง รายละเอียดตามเทศบาลกำหนด

 

ก่อสร้างอาคาร คสล ขนาด  ๑๒ x ๔๓ เมตร มุงหลังคากระเบื้องลอนคู่ โครงหลังคาเหล็ก พื้นผิวปูด้วยกระเบื้องและขัด

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๒๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

๒๐,๐๐๐.๐๐

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐

 

ลดอุบัติเหตุบนถนนช่วงเทศกาล

 

ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน

 

 

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันสาธารณภัยมากขึ้น

 

การติดต่อสื่อสารงานสาธารณภัยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

 

 

 

มีสถานที่ สำหรับอาสาสมัคร(อปพร) เครื่องมือ เครื่องใช้ พร้อมที่จะใช้งานเมื่อเกิด    สาธารณภัยได้อย่างทันท่วงที

 

สป

 

 

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๖.

 

 

๗.

 

 

 

๘.

 

 

 

๙.

 

 

 

 

 

 

 

อุดหนุนงานจราจร

 สภ บ้านนาเดิม

 

จัดซื้อชุดผจญเพลิงพร้อมเครื่องช่วยหายใจ /ชุด บีเอ

 

 

โครงการปรับปรุงเครื่องหมายจราจร/ทางม้าลาย /ไฟกระพริบ/ตีเส้นจราจร

 

โครงการฝึกซ้อมแผนประจำปี

 

 

 

สนับสนุนงานจราจร

สภ.บ้านนาเดิม

 

เพื่อใช้สำหรับพนักงานดับเพลิง

 

 

 

เพื่อให้ประชาชนขับขี่ยานพาหนะได้อย่างปลอดภัย

 

 

เพื่อให้เจ้าหน้าที่ ป้องกัน

อปพร. มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดสถานการณ์จริง

 

อุดหนุนงานจราจร

สภ. บ้านนาเดิม

จำนวน ๑ครั้ง

จัดซื้อชุดผจญเพลิงพร้อมเครื่องช่วยหายใจ

จำนวน  ๒  ชุด

 

ปรับปรุงเครื่องหมายจราจรภายในเขตเทศบาล

 

 

เพื่อลดอัตราการเกิดอัคคีภัย ลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน รู้จักวิธีป้องกันตนเองให้เกิดความปลอดภัยขณะเข้าให้ความ

 

 

 

 

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๐๐,๐๐๐.๐๐

ประชาชนได้รับความสะดวกในการสัญจร ไป -มา

 

พนักงานดับเพลิงทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

 

อุบัติเหตุในพื้นที่มีน้อยลง

 

 

 

ลดอัตราการเกิดอัคคีภัย ลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน รู้จักวิธีป้องกันตนเองให้เกิดความปลอดภัยขณะเข้าให้ความ

สป

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

สป

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อโครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยที่รับ

ผิดชอบ

๒๕๕๖

(บาท)

๒๕๕๗

 (บาท)

๒๕๕๘

(บาท)

๑๐.

 

 

 

๑๑.

โครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

 

โครงการรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

 

เพื่อให้ประชาชนขับขี่ยานพาหนะได้อย่างปลอดภัย

 

 

 

 

 

 

 

 

จัดหาวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ทีจำเป็นในการปฏิบัติงาโน

 

จัดโครงการอย่างน้อย 

๑ ครั้ง

 

๕๐,๐๐๐.๐๐

 

 

 

๑๐,๐๐๐.๐๐

 

 

การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีประสิทธิภาพ

 

ลดอัตราการเกิดอัคคีภัย ลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน รู้จักวิธีป้องกันตนเองให้เกิดความปลอดภัยขณะเข้าให้ความ

สป

 

 

 

สป

ส่วนที่  ๖

การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

 

วัตถุประสงค์  

          เพื่อให้ทราบถึงแนวทางและกลไกในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสามปีอันจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดทำแผนพัฒนาสามปีในปีต่อ ๆ ไป และเป็นการสร้างแนวทางการมีส่วนร่วมในท้องถิ่น

๑.  องค์กรรับผิดชอบในการติดตามประเมินผล

          เทศบาลตำบลบ้านนาได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล   ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น           พ.ศ. ๒๕๔๘  ข้อ ๒๘ เป็นองค์กรรับผิดชอบในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาของเทศบาลตามความเหมาะสมประกอบด้วย

๑.  นายพิพัฒน์  ศรีศิริวรรณา                         รองประธานสภาเทศบาล ประธานกรรมการ
๒.  นายจเร  ฉวาง                                     สมาชิกสภาเทศบาล       กรรมการ
๓.  นายภาสกรณ์  อภิบาลคุรุกิจ                      สมาชิกสภาเทศบาล       กรรมการ
๔.  นางพนิดา  พัฒนสิงห์                              ผู้แทนประชาคม           กรรมการ

          ๕.  นายลิเขียน  ทองมาก                              ผู้แทนประชาคม           กรรมการ

๖.  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาวิทยาคม             ผู้แทนหน่วยงาน           กรรมการ                 

          ๗.  สาธารณสุขอำเภอบ้านนาเดิม                      ผู้แทนหน่วยงาน           กรรมการ

๘.  นายภัชสภณ  ทองมาก                            ปลัดเทศบาล               กรรมการ

          ๙.  นายจำรัส      ใจเอื้อ                                          ผู้ทรงคุณวุฒิ              กรรมการ

          ๑๐.  นายไพบูลย์  สมมะลวน                          ผู้ทรงคุณวุฒิ               กรรมการ

๑๑.  นางสาวยุพดี  แก้วเหมือน                       รก. หัวหน้าสำนักปลัด     เลขานุการกรรมการ

          โดยให้กรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทำหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ  โดยมีอำนาจหน้าที่ดังนี้ 

          ๑) กำหนดแนวทาง  วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนการพัฒนาเทศบาล

          ๒) ดำเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล

๓) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลต่อสภาเทศบาล  คณะเทศมนตรี   คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล  และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในเขตเทศบาลทราบโดยทั่วกัน  อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายในเดือนธันวาคม  ของทุกปีทั้งนี้ให้ติดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน

          ๔) แต่งตั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร 

๒  การติดตามผลการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

          คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตำบลบ้านนา จะต้องดำเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาของเทศบาลตำบลบ้านนา โดยคณะกรรมการอาจดำเนินการเองหรือจัดหาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเข้ามาดำเนินการ  ตามแนวทาง  ดังต่อไปนี้

          ๑)  ศึกษาข้อมูลจากแผนพัฒนาเทศบาลตำบลบ้านนา  และเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาลตำบลบ้านนา

          ๒)  ออกแบบติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาของเทศบาลตำบลบ้านนา

          ๓)  จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง

          ๔)  ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

          ๕)  รายงานการติดตามผลและประเมินผลต่อสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น  และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประกาศผลให้ประชาชนทราบโดยทั่วกัน

          ๖)  นำผลการติดตามประเมินผล พร้อมทั้งปัญหา  อุปสรรค เพื่อหาแนวทางแก้ไขและใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนา

๓  ระยะเวลาในการติดตามและประเมินผล

          การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาของเทศบาลตำบลบ้านนาจะทำการติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าในภาพรวมอย่างน้อยปีละ ๑  ครั้ง จากนั้นจะต้องรายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ต่อสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น  และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประกาศผลให้ประชาชนทราบโดยทั่วกัน  ซึ่งคณะกรรมการฯ อาจดำเนินการตามแนวทางดังนี้

  1. ประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลฯ  เพื่อพิจารณากำหนดแนวทางการติดตามและประเมินผลฯ 
  2. ขออนุมัติจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการติดตามและประเมินผลฯ
  3. คณะที่ปรึกษานำเสนอรายงานผลการติดตามและประเมินผลฯ ต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผลฯ เพื่อปรับปรุงแก้ไข
  4. คณะที่ปรึกษาจัดเวทีประชุมเพื่อรายงานผลการติดตามและประเมินผลฯ  ต่อสาธารณะชน  พร้อมทั้งจัดส่งรายงานผลฉบับสมบูรณ์เสนอผู้บริหารเทศบาลตำบลบ้านนา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ราคามาตรฐาน

ครุภัณฑ์  2551

 

 

เทศบาลตำบลบ้านนา

อำเภอบ้านนาเดิม  จังหวัดสุราษฎร์ธานี

 

 

 

 

 

ภาคผนวก

 

 

 

แผนพัฒนาสามปี 2559-2561
30 พฤศจิกายน 542

0


 แผนพัฒนาสามปี  2559-2561  มีเอกสารแนบประกาศ

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564 )
30 พฤศจิกายน 542

0


แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564 )

เอกสารแนบ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) เทศบาลตำบลบ้านนา
30 พฤศจิกายน 542

0